Page 51 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
P. 51

“คุยเฟื่อง เรื่องวันวาน” ของคณะวิศวกรรม ในแต่ละรั้วมหาวิทยาลัย






              ก่อตั้งมาแล้วประมาณ 44 ปี เหตุผลที่ตั้งขึ้นมาเพื่อที่จะ
              ผลิตครู อาจารย์ ที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้และสอน
              วิศวกรโยธา แล้วก็สอนที่วิทยาลัยเทคนิค โดยหลักสูตรที่
              ศึกษาสมัยนั้นเป็นหลักสูตรต่อเนื่องแบบ 2 ปี ไม่ได้มีการ
              ไปฝึกงาน และเป็นช่วงที่มีการเว้นว่างจากการรับรอง
              ทั้งใบประกอบวิชาชีพครูและใบประกอบวิชาชีพวิศวกร

              แต่ปัจจุบันมีการเปิดการเรียนการสอนในระดับปริญญา
              ตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาวิชาวิศวกรรม
              โยธาและการศึกษา โดยหลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรม
              ศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 5 ปี เป็นภาคทฤษฎี 4 ปี และ        คอลัมนิสต์ : ในสมัยวันวานที่อาจารย์ศึกษา ในสมัยนั้น
              ฝึกปฏิบัติสหกิจ 1 ปี โดยเมื่อส�าเร็จการศึกษาแล้ว     มีการรับน้องอย่างไรบ้างครับและเมื่อเทียบกับปัจจุบันนี้

              สามารถสอบเพื่อขอใบรับรองการประกอบวิชาชีพจาก         เป็นอย่างไร มีอะไรที่ยังเหมือนเดิม และมีอะไรที่เปลี่ยนไป
              สภาวิศวกร และ สามารถสอบเพื่อขอใบประกอบวิชาชีพ       อย่างสิ้นเชิงบ้างครับ
              ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต ได้อีกด้วย                 อาจารย์ ดร.ศิริพัฒน์ : การรับน้องของภาควิชา
               คอลัมนิสต์ : หากจะให้อาจารย์เล่าถึงความโดดเด่น     ครุศาสตร์โยธา คิดว่าเป็นการรับน้องที่อบอุ่นมาก รุ่นพี่
              ของคณะฯ ช่วงที่อาจารย์ศึกษา เมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัย  กับรุ่นน้องเหมือนเป็นพี่น้องกันจริง ๆ นับถือกันมาก สนิท
               อื่น ๆ ที่เห็นได้ชัดเจน คืออะไรครับ                กันมาก ท�าให้พวกเราช่วยเหลือกันตลอด ตอนเรียนรุ่นพี่
                อาจารย์ ดร.ศิริพัฒน์ : นึกถึงตอนสมัยเรียนแล้ว     ก็ช่วยติวให้รุ่นน้อง เรียนจบกันไปแล้วก็ไม่เคยลืมกัน

               คิดว่าเข้าครุศาสตร์เป็นอะไรที่ง่าย ใช้ชีวิตแบบชิลๆ     ยังมีพบปะพูดคุยกันและยังคอยช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
               แต่กลับตรงกันข้ามเลย ที่นี่เรียนหนักมาก สมัยนั้นมีการ   ตลอด ส่วนการรับน้องในอดีตก็แตกต่างจากปัจจุบัน
               สอบถึง 3 รอบ เนื้อหาเยอะมาก อาจารย์สอนเข้มข้น ตอนเช้า   พอสมควร อาจจะเป็นเพราะช่วงสถานการณ์โควิดด้วย
               นั่งรถเมล์ไปโรงเรียน ต้องบันทึกเสียงใส่โทรศัพท์เพื่อ  ที่ท�าให้นักศึกษาเกิดความห่าง และมหาวิทยาลัยก็ยกเลิก
               จ�าสูตรต่าง ๆ จ�าแนวข้อสอบ ที่อ่านไว ทั้งไปและกลับ     รับน้องมาเป็นเวลาหลายปี ทั้งยังเรียนออนไลน์ เพื่อน

               เรียนหนักมาก จนความรู้มันฝังเข้าไปในหัวเอายังไงก็   บางคนยังไม่รู้จักชื่อกันครบเลย ยิ่งรุ่นพี่ไม่ต้องพูดถึง
               ไม่ออก เรียกได้ว่าตอนเรียนนั้นพูดกับเพื่อนไม่รู้เรื่องพูด  ท�าให้ผมเริ่มคิดถึงการรับน้องแล้ว เมื่อก่อนก็คิดว่า การ
               อะไรก็เป็นเชิงวิศวกรรมไปหมด แถมยังมีวิชาสอนที่เป็น   รับน้องนั้นไร้สาระ แต่มันท�าให้เรารู้จักกันเป็นพี่น้องกัน
               เนื้อหาเกี่ยวกับโยธา ที่เราจะต้องไปดูตามไซต์งานแล้วน�ามา   โดยไม่รู้ตัว หวังว่าเร็ว ๆ นี้คงจะได้เห็นนักศึกษารับน้อง
               พรีเซนต์ให้อาจารย์ฟัง ในชีวิตแทบไม่มีเวลาคิดเรื่องอื่น  กันเพื่อจะได้สานสัมพันธไมตรีกันมากขึ้น
               เลย ต้องเรียนและติวเข้มตลอด รู้ตัวอีกทีก็พูดกับเพื่อน   คอลัมนิสต์ : นอกจากเรื่องของประเพณีการรับน้อง

               ไม่รู้เรื่องแล้วครับ                              แล้ว ยังมีประเพณีประจ�าปีหรือประเพณีที่โดดเด่นอะไร
                บรรณาธิการ : ในสมัยที่อาจารย์ศึกษาอยู่ลักษณะ     ที่อาจารย์ยังพอจ�าได้บ้างครับ และในปัจจุบันประเพณี
               การแต่งตัว หรือเสื้อที่ใช้ในการเข้าห้องปฏิบัติการ (เสื้อช็อป)     นั้นยังอยู่หรือไม่ หรือเปลี่ยนไปอย่างไรครับ
               มีลักษณะเป็นอย่างไรครับ                            อาจารย์ ดร.ศิริพัฒน์ : ก็มีประเพณีแข่งเรือยาว
                 อาจารย์ ดร.ศิริพัฒน์ : เสื้อช๊อปคิดว่าเป็นช็อปที่เท่  นะครับ เชียร์กันแบบสนุกสนานมากครับคลองบางเขน

                มาก เห็นครั้งแรกรู้สึกว้าวมาก เวลากลับบ้านต่างจังหวัด   ข้างคณะ พวกเราก็คอยเชียร์คนให้เรือล่ม แล้วก็รอนั่ง
                จะใส่ตลอด ใส่ไปเดินอวดสาว ๆ คิดว่าเท่ ข้างหลังก็มีปัก  ข�าอย่างเดียว ตามรูปประกอบครับ
                ครุศาสตร์โยธา คอเสื้อก็ไม่เคยเอาลง ตลอดระยะเวลา
                ที่เรียน แขนเสื้อก็ปักโลโก้เทคนิคไทยเยอรมัน



                                                                                                    วิศวกรรมสาร  51
                                                                                       ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56