Page 45 - คู่มือองค์ความรู้ เกี่ยวกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ และแผนระดับต่างๆในภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรม
P. 45

ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ ๒                                    ยุทธศ�สตร์ นโยบ�ย และแผนระดับ ๒
                                  บทที่

     ยุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนระดับต่างๆ                                           นโยบ�ยและแผนระดับช�ติว่�ด้วยคว�มมั่นคงแห่งช�ติ


                        กระทรวงวัฒนธรรม                                           (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕)



           น�าแผนดังกล่าวไปพิจารณาประกอบการด�าเนินงานตามภารกิจ หน้าที่ตามกฎหมาย          องค์ประกอบของนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ
           ในส่วนที่ทุกส่วนราชการที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับนโยบาย/แผนยุทธศาสตร์ของ      (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕) และความสอดคล้องกับภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรม

           กระทรวง/กรม  รวมถึงการก�าหนดนโยบาย/ยุทธศาสตร์เฉพาะเรื่อง/แนวทาง/                     นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕)
           มาตรการในกรณีที่มีความส�าคัญ  ตลอดจนการจัดท�าแผนงานโครงการรองรับ              มีองค์ประกอบ ๒ ส่วน ประกอบด้วย
           และส่งเสริมการด�าเนินการตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคง                    ๑. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ จ�านวน ๑๖ นโยบาย และ ๒. แผนระดับชาติ
           แห่งชาติบรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้                                            ว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ จ�านวน ๑๙ แผน ทั้งนี้ จากการพิจารณาจะพบได้ว่า
                  ทั้งนี้ การรักษาความมั่นคงแห่ชาติ พระราชบัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ   ตามพันธกิจและหน้าที่ของกระทรวงวัฒนธรรม จะสามารถมีส่วนในการขับเคลื่อน
            พ.ศ. ๒๕๕๙ มีประเด็นการรักษาความมั่งคง ๔ ประเด็นหลัก ดังต่อไปนี้              การด�าเนินการตามนโยบายและแผนระดับชาติฯ  ฉบับดังกล่าว  ทั้งในประเด็นที่
                  ๑) การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง             ได้รับการมอบหมายตามการมอบหน่วยรับผิดชอบนโยบายและแผนระดับชาติ
           ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข                              ว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) และประเด็นเกี่ยวข้อง ดังนี้
                  ๒) การปกป้องและรักษาผลประโยชน์ของชาติ                                         ๑. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ

                  ๓) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและศักยภาพการป้องกันประเทศ               ๑.๑. นโยบายที่ ๑ : เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ
                  ๔) การรักษาความมั่นคงภายในประเทศและระหว่างประเทศ                       และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
                                                                                                ๑.๒. นโยบายที่ ๒ : สร้างความเป็นธรรม ความปรองดอง

           วิสัยทัศน์ของนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ                   และความสมานฉันท์ในชาติ
           (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕)                                                                   ๑.๓. นโยบายที่ ๓ : ป้องกันและแก้ไขการก่อเหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้
                                                                                                ๑.๔. นโยบายที่ ๘ : เสริมสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันความมั่นคงภายใน
           “มีเสถียรภาพภายในประเทศ มีศักยภาพในการลดภัยข้ามเขตพรมแดนไทย                          ๑.๕. นโยบายที่ ๙ : เสริมสร้างความมั่นคงของชาติจากภัยการทุจริต
           มีบทบาทสร้างสรรค์ในภูมิภาค และประชาคมโลก”                                            ๑.๖. นโยบายที่ ๑๐ : เสริมสร้างความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์

                                                                                                ๑.๗. นโยบายที่ ๑๖ : เสริมสร้างดุลยภาพในการด�าเนินความสัมพันธ์
                                                                                         ระหว่างประเทศ










                                                                                                                                                                 45
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50