Page 47 - คู่มือองค์ความรู้ เกี่ยวกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ และแผนระดับต่างๆในภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรม
P. 47
ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ ๒ ยุทธศ�สตร์ นโยบ�ย และแผนระดับ ๒
บทที่
ยุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนระดับต่างๆ นโยบ�ยและแผนระดับช�ติว่�ด้วยคว�มมั่นคงแห่งช�ติ
กระทรวงวัฒนธรรม (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕)
๖) แผนที่ ๑๑ : การเสริมสร้างความมั่นคงของชาติจากภัยทุจริต • ตัวชี้วัด
(กลยุทธ์ที่ ๑ ถึง ๔) ตัวชี้วัดที่ ๑ : ระดับความส�าเร็จของการมีบทบาทเชิงสร้างสรรค์
• เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : หน่วยงานภาครัฐมีระบบป้องกันและแก้ไข ของไทยด้านการเมืองและความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยเฉพาะในอาเซียนและ
การทุจริตรวมทั้งประชาชนไม่เพิกเฉยต่อการทุจริตของหน่วยงานภาครัฐ ในเวทีองค์การระหว่างประเทศอื่น ๆ
• ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ ๒ : ระดับความส�าเร็จในการรักษาดุลยภาพความสัมพันธ์
ตัวชี้วัดที่ ๑ : ค่าดัชนีชี้วัดการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions และความร่วมมือด้านความมั่นคงกับประเทศมหาอ�านาจ
Index: CPI) ของประเทศไทย ตัวชี้วัดที่ ๓ : ระดับความสัมพันธ์ที่ดีด้านความมั่นคงระหว่างไทยกับ
ตัวชี้วัดที่ ๒ : ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต ประเทศต่าง ๆ เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน
๗) แผนที่ ๑๕ : การป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงทางไซเบอร์
(กลยุทธ์ที่ ๑ และ ๓) ระยะเวลาการบังคับใช้ พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๕
• เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : ประเทศไทยมีความมั่นคงปลอดภัย
และมีความพร้อมในการรับมือกับภัยคุกคามทางไซเบอร์
• ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ๑ : ระดับความพร้อมของไทยในการป้องกันความเสี่ยง
จากการโจมตีด้านไซเบอร์ที่สอดคล้องกับหลักสากล
ตัวชี้วัดที่ ๒ : ระบบป้องกันทางไซเบอร์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถปกป้อง
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐบาล ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานส�าคัญด้านไซเบอร์
๘) แผนที่ ๑๖ : การรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ
(กลยุทธ์ที่ ๔)
• เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ : ประเทศไทยสามารถรักษาดุลยภาพ
สภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศบนฐานความไว้เนื้อเชื่อใจ หลักความเสมอภาค
ในการปฏิบัติต่อกัน และไม่แทรกแซงกิจการภายในระหว่างกัน และได้การรับยอมรับจาก
นานาประเทศ สามารถพัฒนาผลประโยชน์ร่วมกับประเทศอื่น ๆ ในด้านความมั่นคง
และคุ้มครองผลประโยชน์ของชาติ
47