Page 63 - คู่มือองค์ความรู้ เกี่ยวกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ และแผนระดับต่างๆในภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรม
P. 63
ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ ๒ ยุทธศ�สตร์ นโยบ�ย และแผนระดับ ๓
บทที่
ยุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนระดับต่างๆ ยุทธศ�สตร์ส่งเสริมอุตส�หกรรมภ�พยนตร์และวีดิทัศน์ระยะที่ ๓
กระทรวงวัฒนธรรม (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
๒. ตัวชี้วัดหลัก
๒.๑ มูลค่ารวมของอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์เติบโตต่อเนื่องไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ ต่อปี
๒.๒ มีกลไกในการผลักดันการพัฒนาอุตสาหกรรมฯ ให้เข้มแข็งและยั่งยืน
๒.๒.๑ มีการรวมกลุ่มของผู้้ประกอบการในอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์
๒.๒.๒ มีมาตรการทางเศรษฐกิจและการคลังเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมฯ
๒.๒.๓ มีมาตรการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ (Co-Production Treaty) ที่เหมาะสมส�าหรับประเทศไทย
๒.๒.๔ มีหน่วยงานที่รับผิดชอบในการส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ที่มีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ
๒.๓ บุคลากรด้านอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ มีทักษะและความเชี่ยวชาญ ที่สามารถแข่งขันกับต่างประเทศเพิ่มมากขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐
๒.๔ มีฐานข้อมูลกลางของอุตสาหกรรมฯ ที่เป็นระบบ สามารถจะน�าไปประโยชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒.๕ ประชาชนมีจิตส�านึก เคารพและปกป้องคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาของผลงานภาพยนตร์ และวีดิทัศน์เพิ่มมากขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
๓. ยุทธศาสตร์และมีกลยุทธ์และแนวทาง/มาตรการด�าเนินการ
๓.๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ไทยให้เป็นมืออาชีพ
๓.๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมและพัฒนาตลาดภาพยนตร์และวีดิทัศน์ไทย
๓.๓ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมการปกป้องและคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาของงานภาพยนตร์และวีดิทัศน์
๓.๔ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ส่งเสริมความร่วมมือในการลงทุนระหว่างประเทศรวมธุรกิจถ่ายท�าภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทย
๓.๕ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ พัฒนาขีดความสามารถของอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์
หน่วยงานขับเคลื่อนหลัก: กระทรวงวัฒนธรรม
มติครม. : ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙
ระยะเวลาการบังคับใช้แผน : ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
คลิกดูเอกสารฉบับเต็ม วีดิทัศน์
63