Page 3 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 3
ข
บทคัดยzอ
งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค7ในการศึกษาคุณลักษณะของปราสาทและอBางเก็บน้ำของ
ชุมชนเขมรสมัยบาปวน (ชBวงกลางพุทธศตวรรษที่ 16 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 17) เฉพาะใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เพื่อใหTเขTาใจถึงแบบแผนในการกBอสรTาง และตีความถึง
สภาพทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจในชBวงเวลาดังกลBาว
จากการศึกษาขTอมูลทั้งศิลาจารึกและการสำรวจภาคสนามทำใหTทราบวBา ในรัชสมัยอัน
ยาวนานของพระเจTาสูรยวรมันที่ 1 รวมทั้งในรัชกาลของพระเจTาอุทัยทิตยวรมันที่ 2 และพระเจTา
ชัยวรมันที่ 6 (ตั้งแตB พ.ศ. 1545 – 1650) มีความเจริญรุBงเรืองในหลายดTาน โดยเฉพาะเกิดการ
พัฒนาชุมชนทTองถิ่นอยBางกTาวกระโดดเมื่อเทียบกับสมัยกBอนหนTา เห็นไดTจากการกBอสรTางปราสาท
หรือเทวาลัยเนื่องในศาสนาพราหมณ7ฮินดูขึ้นเปcนจำนวนมาก โดยโครงการกBอสรTางนี้มีการกำหนด
แบบแผนตBาง ๆ คลTายคลึงกัน เชBน ลักษณะแผนผังและทิศทางของปราสาท รูปแบบศิลปกรรม
ตลอดจนมีการกBอสรTางอBางเก็บน้ำของปราสาทและชุมชน ทั้งตระพังหรืออBางเก็บน้ำขนาดเล็ก
และบารายหรืออBางเก็บน้ำขนาดใหญB ซึ่งเอื้อประโยชน7ตBอการบริหารจัดการน้ำไวTใชTในการทำนา
การปfองกันน้ำทBวม และยังใชTสื่อความหมายเชิงสัญลักษณ7ทางศาสนาของทะเลอันศักดิ์สิทธิ์ดTวย
ในสมัยบาปวนมีการกBอสรTางปราสาทอยBางนTอย 33 แหBงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
ไทย ทั้งในลุBมแมBน้ำมูล ลุBมแมBน้ำชี แอBงสกลนคร และบนเทือกเขาพนมดงรัก โดยมีชุมชนตั้งถิ่นฐาน
หนาแนBนในแถบลุBมแมBน้ำมูล เพราะบริเวณนี้อยูBไมBไกลจากศูนย7กลางการปกครองในประเทศกัมพูชา
คือเมืองพระนคร รวมทั้งเมืองพระตะบองและปราสาทเขาพระวิหาร นอกจากนี้ลุBมแมBน้ำมูลยังมี
น้ำและดินที่อุดมสมบูรณ7เหมาะสมตBอการเกษตรกรรม และยังมีเกลือสินเธาว7อยูBอยBางมหาศาลดTวย
ชุมชนเขมรสมัยบาปวนสBวนใหญBตBางอยูBภายใตTการกำกับดูแลของขุนนางหรือขTาราชการ
ทTองถิ่น ซึ่งชุมชนเล็ก ๆ คงขึ้นตรงตBอเมืองขนาดยBอม ๆ ที่มีขุนนางระดับสูงเปcนผูTดูแล โดยชุมชน
ขนาดเล็กและเมืองขนาดยBอมทั้งหมดลTวนขึ้นตรงตBอเมืองขนาดใหญBที่มีความสัมพันธ7โดยตรงกับ
องค7พระมหากษัตริย7 ซึ่งระบบการบริหารราชการแผBนดินในสมัยพระเจTาสูรยวรมันที่ 1 พระเจTา
อุทัยทิตยวรมันที่ 2 และพระเจTาชัยวรมันที่ 6 เชBนนี้ยBอมเปcนพื้นฐานอันดีใหTกับกษัตริย7เขมรในรัชกาล
ตBอ ๆ มา โดยเฉพาะอยBางยิ่งในรัชสมัยของพระเจTาชัยวรมันที่ 7 (ชBวงพุทธศตวรรษที่ 18 หรือตรงกับ
สมัยบายน) ซึ่งพระองค7ทรงมีนโยบายการสรTางอาโรคยศาลาหรือโรงพยาบาลขึ้นประจำชุมชนถึง
102 แหBง โดยปรากฏอาโรคยศาลาสมัยบายนอยBางนTอย 6 แหBงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ตั้งอยูB
ใกลTกับปราสาทสมัยบาปวน ดTวยเหตุนี้พระราชอำนาจและนโยบายดTานสาธารณสุขของพระเจTา
ชัยวรมันที่ 7 จึงดำเนินไปตามแผนงานดTานการพัฒนาบTานเมืองที่ดี ซึ่งเคยมีมากBอนแลTวในสมัย
บาปวน