Page 8 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 8

บทที่ 1

                                                          บทนำ


                    1.1)  ที่มาและความสำคัญของป9ญหา

                           ในช&วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 – 18 (พ.ศ. 1100 – 1800) หรือ 1,450 – 750 ปFมาแลIว

                    วัฒนธรรมเขมรโบราณซึ่งมีศูนยTกลางความเจริญในประเทศกัมพูชาปZจจุบันไดIแพร&หลายเขIามายัง
                    ดินแดนประเทศไทยในปZจจุบัน โดยเฉพาะในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง

                    ภาคตะวันตก และภาคเหนือตอนล&าง เห็นไดIจากการคIนพบปราสาทแบบเขมร ประติมากรรม
                    รูปเคารพทางศาสนา ศิลาจารึก แหล&งเตาเผาภาชนะหรือเครื่องถIวยเขมร และชุมชนหรือบIานเมือง

                    โบราณหลายแห&ง เช&น เมืองพิมาย อ.พิมาย จ.นครราชสีมา ชุมชนบริเวณเขาพนมรุIง อ.เฉลิม

                    พระเกียรติ จ.บุรีรัมยT เมืองหนองหานหลวง อ.เมือง จ.สกลนคร เมืองสิงหT อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี
                    เมืองพระพายหลวง อ.เมือง จ.สุโขทัย แหล&งเตาเผาภาชนะที่ อ.บIานกรวด จ.บุรีรัมยT เปcนตIน

                           การศึกษาที่ผ&านมาเกี่ยวกับอิทธิพลของวัฒนธรรมเขมรในดินแดนประเทศไทยนี้มีจุดสนใจ
                    อยู&ที่ยุคก&อนเมืองพระนคร หรือประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 เนื่องจากไดIพบศิลาจารึกหลายหลัก

                    ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกที่กล&าวถึงการสถาปนาศิวลึงคTหรือโคนนทิของ

                    พระเจIามเหนทรวรมัน (จิตรเสน) กษัตริยTแห&งเจนละ (พิมพTพรรณ ไพบูลยTหวังเจริญ, 2557) รวมทั้ง
                    เนIนไปที่การศึกษาเรื่องพระราชอำนาจของพระเจIาชัยวรมันที่ 7 กษัตริยTผูIยิ่งใหญ&แห&งยุคเมือง

                    พระนคร ในช&วงพุทธศตวรรษที่ 18 ซึ่งไดIพบหลักฐานในสมัยของพระองคTอันตรงกับศิลปะสมัยบายน

                    เปcนจำนวนมากและยังปรากฏเกือบทุกภูมิภาคของประเทศไทย (หม&อมราชวงศTสุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์,
                    2543 ; วรรณวิภา สุเนตTตา, 2548 ; O’Naghten, 2014)

                           ส&วนในช&วงกลางพุทธศตวรรษที่ 16 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 17 เปcนระยะเวลาที่วัฒนธรรม

                    เขมรโบราณไดIแพร&หลายเขIามาในดินแดนไทยอย&างเขIมขIน เห็นไดIจากหลักฐานประเภทศิลปกรรม
                    เขมรในสมัยนี้ที่พบมากที่สุด (ตรงกับศิลปะสมัยบาปวน ซึ่งมีส&วนผสมของศิลปะคลังที่มีมาก&อนหนIา

                    แลIวดIวย) รวมทั้งพบศิลาจารึกหลายหลัก ทั้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาค
                    กลาง โดยในช&วงเวลานี้ตรงกับรัชสมัยของพระเจIาสูรยวรมันที่ 1 (ครองราชยT พ.ศ. 1545 – 1593)

                    พระเจIาอุทัยทิตยวรมันที่ 2 (ครองราชยT พ.ศ. 1593 – 1609) พระเจIาหรรษวรมันที่ 3 (ครองราชยT
                    พ.ศ. 1609 – 1623) และพระเจIาชัยวรมันที่ 6 (ครองราชยT พ.ศ. 1623 – 1650) ซึ่งกษัตริยTสอง

                    พระองคTแรกนั้นทรงมีพระราชอำนาจมากทั้งในเขตประเทศกัมพูชาและประเทศไทยในปZจจุบัน

                           พระเจIาสูรยวรมันที่ 1 ทรงทำใหIราชอาณาจักรเปcนปvกแผ&น ทรงก&อสรIางพระราชวังหลวง
                    ซึ่งมีจารึกที่กรอบประตูทางเขIาพระราชวังหลวงกล&าวถึงการทำพิธีถือน้ำพิพัฒนTสัตยาของเหล&า

                    ขIาราชการหลายรIอยคน (Jacques, 2002: 128) พระองคTไดIสรIางปราสาทสำคัญตามทิศทางต&าง ๆ






                                                            1
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13