Page 9 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 9

เช&น ปราสาทเขาพระวิหาร (Preah Vihear) ใน จ.พระวิหารทางทิศเหนือของกัมพูชา ปราสาทพนม

                    จีโสรT (Phnom Chisor) ใน จ.ตาแกIวทางทิศใตIของกัมพูชา (Jacques, 2002: 132) พระองคTยังไดI

                    ทรงเริ่มตIนโครงการก&อสรIางอ&างเก็บน้ำขนาดมหึมาแห&งใหม&ประจำเมืองพระนครคือ บารายตะวันตก
                    (แทนที่บารายตะวันออกที่มีอยู&เดิม) ซึ่งมีความกวIาง 2.2 กิโลเมตร และยาวถึง 8 กิโลเมตร (แลIวเสร็จ

                    ในสมัยพระเจIาอุทัยทิตยวรมันที่ 2) (Jacques, 2002: 134)

                           นอกจากนี้ ในรัชสมัยของพระเจIาสูรยวรมันที่ 1 มีจารึกหลายหลักที่กล&าวถึง “ปุระ” หรือ
                    ชุมชนเมืองมากถึง 47 แห&ง โดยมีชุมชนเมืองที่เกิดขึ้นใหม& 20 แห&ง (Hall, 2011: 172) การสรIาง

                    ชุมชนเมืองเหล&านี้กระทำโดยการสรIางศาสนสถานขึ้นหรือยกที่ดินว&างเปล&าใหIแก&บุคคลหนึ่ง และผลที่
                    ตามมาก็คือ การจัดตั้งหมู&บIานเพื่อคอยรับใชIศาสนสถาน และมีการทำเกษตรกรรมในที่ดินรอบ ๆ

                    ซึ่งตIองมีระบบชลประทานที่มีประสิทธิภาพ (หม&อมเจIาสุภัทรดิศ ดิศกุล, 2549: 189)

                           ถึงแมIว&าในรัชกาลของพระเจIาอุทัยทิตยวรมันที่ 2 มีกบฏเกิดขึ้นหลายครั้ง (มาดแลน จิโต,
                    2544: 53 - 54) แต&พระองคTก็ทรงดำเนินการก&อสรIางบารายตะวันตกจนแลIวเสร็จ และโปรดใหIสรIาง

                    ปราสาทแม&บุญตะวันตกขึ้นกลางบารายนั้น เพื่อประโยชนTในการสรIางความศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา
                    ใหIกับแหล&งน้ำประจำเมืองและช&วยในการควบคุมระบบชลประทานขนาดมหึมานั้นดIวย (Jacques,

                    2002: 144 ; ชากสT ดูมารTเซยT, 2548: 7 - 9) โดยปราสาทที่มีความสำคัญแห&งหนึ่งในสมัยพระเจIา

                    อุทัยทิตยวรมันที่ 2 ตั้งอยู&ในภาคตะวันออกใกลIกับชายแดนไทย-กัมพูชา คือ ปราสาทสดŠกกŠอกธม
                    อ.โคกสูง จ.สระแกIว ซึ่งดIานทิศตะวันออกของปราสาทมีอ&างเก็บน้ำวางตัวในแนวทิศตะวันออก-

                    ตะวันตก กวIาง 200 เมตร ยาว 400 เมตร

                           สำหรับปราสาทเขมรในประเทศไทยที่มีอายุอยู&ในช&วงสมัยนี้ ก็คือกลุ&มปราสาทที่กำหนดอายุ
                    จากแบบศิลปะดIวยการศึกษาทับหลังหรือเสาประดับกรอบประตูอยู&ในสมัยบาปวน (หรือศิลปะคลัง-

                    บาปวน) ซึ่งหากไม&นับรวมอาโรคยศาลาสมัยบายนในรัชกาลพระเจIาชัยวรมันที่ 7 (ประมาณ 30

                    แห&ง) แลIวก็ถือว&าในประเทศไทยมีปราสาทสมัยบาปวนอยู&มากที่สุด ตัวอย&างเช&น ปราสาทพนมวัน
                    อ.เมือง จ.นครราชสีมา ปราสาทเมืองต่ำ อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมยT กู&กาสิงหT อ.เกษตรวิสัย จ.รIอยเอ็ด

                    ปราสาทสระกำแพงใหญ& อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรีษะเกษ กู&เป‹อยนIอย อ.เป‹อยนIอย จ.ขอนแก&น เปcนตIน
                           โดยปราสาทพนมวันถือเปcนปราสาทเขมรขนาดใหญ&และสำคัญมากแห&งหนึ่ง เพราะมีการอยู&

                    อาศัยหลายระยะตั้งแต&พุทธศตวรรษที่ 15 - 17 และในช&วงพุทธศตวรรษที่ 16 - 17 ก็มีการก&อสรIาง
                    ระเบียงคดและปราสาทประธาน โดยจารึกพนมวัน 2 (K.393 ศักราชตรงกับ พ.ศ. 1598) ไดIกล&าว

                    สรรเสริญพระเจIาสูรยวรมันที่ 1 และมีขIอความที่กล&าวถึงการพัฒนาหมู&บIานหลายแห&ง ดังความว&า

                    “...ได&ทำเขตอาศรมนั้นไว&ทั้ง 8 ทิศ พร&อมด&วยชาวบ&านและญาติทั้งหลาย ในทิศตะวันออก...
                    ทิศตะวันออกเฉียงใต& ทางทิศใต& และทิศตะวันตกเฉียงใต& สตุกกทัมพกะ ทิศตะวันตกพนมพระ

                    ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ....ทิศเหนือชื่ออังเวง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือชื่อ ณทาหกะ ตั้งแตJหมูJบ&าน






                                                            2
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14