Page 11 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 11

1) เมืองศูนยTกลางภูมิภาค ไดIแก& เมืองพิมาย (บารายขนาด 700 x 1,540 เมตร) และเมือง

                    หนองหานหลวง (ตระพังขนาด 210 x 400 เมตร)

                           2) เมืองศูนยTกลางระดับอนุภูมิภาค ไดIแก& เมืองต่ำ (บารายขนาด 360 x 1,050 เมตร)
                    ปราสาทศีขรภูมิ (ตระพังขนาด 675 x 945 เมตร) ปราสาทบIานพลวง (ตระพังขนาด 370 x 970

                    เมตร) ปราสาทพนมวัน (ตระพังประจำปราสาทขนาด 275 x 475 เมตร บารายประจำเมืองขนาด

                    525 x 1,800 เมตร) กู&สวนแตง (ตระพังขนาด 285 x 630 เมตร) และปราสาทหมื่นชัย (ตระพัง
                    ขนาด 360 x 660 เมตร)

                           3) ชุมชนในครอบครองของชาวเขมร ไดIแก& ปราสาทภูมิโปน ปราสาทสระกำแพงใหญ&
                    (ตระพังขนาด 180 x 345 เมตร) ปราสาทปรางคTกู& (ตระพังขนาด 300 x 600 เมตร) ปราสาท

                    เป‹อยนIอย (ตระพังขนาด 190 x 400 เมตร) ปรางคTสีดา เมืองฟาแดดสงยาง และเมืองนครจำปาศรี

                    (บารายขนาด 300 x 990 เมตร)
                           4) เทวบรรพต ไดIแก& ปราสาทเขาพนมรุIง (บารายขนาด 600 x 1,000 เมตร) เขาพระวิหาร

                    เขาปลายบัด ปราสาทตาเมือนธม และภูเพ็ก
                           5) ชุมชนอโรคยศาลา ไดIแก& กุฏิ–ษีบIานโคกเมือง (ตระพังขนาด 90 x 200 เมตร) กุฏิ–ษี

                    เมืองพิมาย กุฏิ–ษีหนองบัวราย ปราสาทเมืองเก&า (ตระพังขนาด 180 x 370 เมตร) ปราสาท

                    จอมพระ (ตระพังขนาด 180 x 345 เมตร) ปรางคTพลสงคราม (ตระพังขนาด 180 x 330 เมตร)
                    และกู&พันนา (ตระพังขนาด 240 x 330 เมตร)

                           อาจกล&าวไดIว&า การศึกษาของธาดา สุทธิธรรม ใชIวิธีการจัดลำดับความสำคัญของชุมชน

                    ทุกยุคทุกสมัยมากกว&าการพิจารณาความหลากหลายของชุมชนในสมัยเดียวกัน ต&อมาในปF 2555
                    ทิพยTวรรณ วงศTอัสสไพบูลยT ไดIศึกษาร&องรอยของชุมชนและเมืองโบราณอันเปcนที่ตั้งของศาสนสถาน

                    ประจำโรงพยาบาล หรือ “อาโรคยศาลา” ซึ่งคIนพบแลIวราว 30 แห&งทั้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                    และภาคตะวันออก จากจำนวนอาโรคยศาลา 102 แห&งตามที่ระบุอยู&ในจารึกปราสาทตาพรหมที่
                    เมืองพระนครในกัมพูชา ผลการศึกษาระบุว&า การสรIางอาโรคยศาลาในแต&ละชุมชน (ตัวอย&าง 16

                    แหล&งในเขตจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมยT และสุรินทรT) แมIว&าจะมีแผนผังของกลุ&มอาคารคลIายกัน
                    แต&ก็ไม&มีกฎเกณฑTตายตัวในการกำหนดสถานที่ตั้งและขนาดของอาโรคยศาลา โดยอาโรคยศาลา

                    ส&วนใหญ&มักตั้งอยู&ทางทิศตะวันออกหรือตะวันออกเฉียงเหนือติดกับชุมชนโบราณร&วมสมัย โดยมี
                    เสIนทางคมนาคมทางบกหรือทางน้ำติดต&อกับชุมชนอื่น ๆ และทางทิศตะวันออกของอโรคยศาลา

                    ก็มักมีตระพังซึ่งมีขนาดเฉลี่ย 130 x 260 เมตร วางตัวตามแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตกอยู&ดIวย

                    (ทิพยTวรรณ วงศTอัสสไพบูลยT, 2555)










                                                            4
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16