Page 12 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 12
ส&วนงานศึกษาชิ้นสำคัญเกี่ยวกับปราสาทเขมรสมัยบาปวน (และนครวัด) เปcนของวรรณวิภา
สุเนตTตา ซึ่งจัดทำเปcนวิทยานิพนธTปริญญาเอกสาขาประวัติศาสตรTศิลปะ เรื่อง “สถาปVตยกรรมเขมร
ในดินแดนไทยชJวงพุทธศตวรรษที่ 16 - 17: ลำดับการสืบเนื่อง” พบว&าปราสาทสมัยนี้แบ&งเปcนกลุ&ม
ปราสาทศูนยTกลางขนาดใหญ& เช&น ปราสาทเขาพระวิหาร ปราสาทพนมวัน ปราสาทพิมาย ปราสาท
พนมรุIง และกลุ&มปราสาทประจำชุมชนขนาดเล็ก เช&น ปราสาทกู&กาสิงหT ปรางคTกู&สวนแตง ฯลฯ
ซึ่งปรากฏรูปแบบศิลปะทIองถิ่นที่ต&างไปจากแบบแผนของปราสาทในเมืองพระนครประเทศกัมพูชา
(สันนิษฐานว&าเปcนเพราะวัฒนธรรมดั้งเดิมหรือการรับอิทธิพลระหว&างชุมชนที่ตั้งอยู&ใกลIเคียง) แต&งาน
สถาปZตยกรรมก็ยังสะทIอนใหIเห็นความสำคัญของชุมชนและผูIปกครองทIองถิ่นที่เปcนเครือญาติหรือ
ขIาราชการชั้นสูงในราชสำนักกัมพูชาโบราณ (วรรณวิภา สุเนตTตา, 2552) ถึงแมIว&างานวิจัยดIาน
ประวัติศาสตรTศิลปะชิ้นนี้ไม&ไดIวิเคราะหTถึงลักษณะของตระพังประจำปราสาทต&าง ๆ แต&ก็ไดIนำเสนอ
ขIอมูลเชิงสถิติของกลุ&มปราสาทที่ศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 56 แห&ง โดยมีปราสาทที่
มีตระพังดIวยจำนวน 20 แห&ง (แต&ไม&ไดIระบุขนาดและทิศทาง) เช&น ปราสาทพนมวัน กู&พราหมณT
จำศีล กู&พระโกนา กู&นIอย เปcนตIน (วรรณวิภา สุเนตTตา, 2552: 214 - 216)
จะเห็นไดIว&ายังไม&เคยมีการศึกษาวิเคราะหTอย&างจริงจังเกี่ยวกับคุณลักษณะของปราสาท
ตระพัง และบารายของชุมชนเขมรสมัยบาปวน ช&วงกลางพุทธศตวรรษที่ 16 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่
17 ในดินแดนประเทศไทยปZจจุบัน การศึกษาในครั้งนี้จึงน&าจะทำใหIมองเห็นไดIถึงคุณลักษณะต&าง ๆ
ของชุมชนในช&วงเวลานี้ไดIชัดเจนยิ่งขึ้น เช&น ตำแหน&งและทิศทางของปราสาทแต&ละแห&ง การเลือก
สถานที่ก&อสรIางตระพังประจำปราสาทหรือบารายประจำชุมชน ทิศทางและขนาดของตระพังและ
บาราย ความสัมพันธTระหว&างตระพังและบารายกับทางน้ำธรรมชาติ หรือการดัดแปลงทางน้ำ
ธรรมชาติใหIเชื่อมต&อมายังตระพังและบาราย ฯลฯ
โดยคุณลักษณะต&าง ๆ นี้สามารถนำมากำหนดแบบแผนของการก&อสรIางชุมชนในสมัย
บาปวนไดIว&ามีปZจจัยใดบIางที่ส&งผลต&อการพัฒนาชุมชนขึ้นในบริเวณนั้น ๆ และมีปZจจัยใดบIางที่ส&งผล
ต&อความเหมือนและความต&างของชุมชนในช&วงเวลานี้ เช&น การกำหนดแบบแผนมาจากส&วนกลาง
(เมืองพระนคร) หรือลักษณะทIองถิ่นที่เขIามาผสมผสาน หรือมีขIอจำกัดดIานสภาพภูมิประเทศใน
แต&ละบริเวณหรือไม& อย&างไร และผลที่ไดIจากการวิจัยไม&เพียงจะทำใหIมีความเขIาใจเกี่ยวกับสภาพ
สังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ หรืออำนาจทางการเมืองของกัมพูชาในสมัยบาปวนเท&านั้น แต&น&าจะ
เอื้อประโยชนTต&อการวางแผนอนุรักษT พัฒนา และจัดการแหล&งน้ำของทIองถิ่นต&าง ๆ ในปZจจุบันและ
อนาคตไดIอีกดIวย
5