Page 14 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 14
1.5) ระเบียบวิธีวิจัย
1.5.1) รวบรวมขIอมูลเอกสารที่เกี่ยวขIอง ไดIแก& ประวัติศาสตรTกัมพูชาสมัยโบราณและการ
แพร&หลายของวัฒนธรรมเขมรในไทย การจัดการน้ำในวัฒนธรรมเขมรโบราณ ปราสาทและชุมชน
เขมรโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ขIอมูลดIานจารึกเขมรโบราณในไทย โดยคำแปล
จารึก (ในกรณีที่ไม&มีเชิงอรรถอIางอิง) นำมาจากฐานขIอมูลจารึกในประเทศไทย รวบรวมโดยศูนยT
มานุษยวิทยาสิรินธร (องคTการมหาชน) [https://db.sac.or.th/inscriptions/]
1.5.2) สำรวจชุมชนเขมรในช&วงกลางพุทธศตวรรษที่ 16 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 17 ในเขต
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยพิจารณาจากตำแหน&งของปราสาทที่ทราบอายุแน&ชัด (สมัยบาปวน)
เสียก&อน และตรวจสอบลักษณะของชุมชนจากแผนที่ทหาร ภาพถ&ายทางอากาศ ภาพถ&ายดาวเทียม
จากโปรแกรม Google Earth จากนั้นจึงเก็บขIอมูลต&าง ๆ ของแต&ละแหล&งโบราณคดีดังนี้
(1) ที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตรT ไดIแก& ตำแหน&งที่ตั้งทางการปกครอง พิกัด UTM
และสภาพภูมิศาสตรT โดยเฉพาะเสIนทางของลำน้ำต&าง ๆ
(2) รูปแบบของปราสาท ไดIแก&
- แผนผัง ไดIแก& ปราสาทประธาน บรรณาลัย โคปุระ ระเบียงคด กำแพง
แกIว ทางเดินและเสานางเรียง ฯลฯ
- ทิศทาง โดยการระบุองศาที่เบี่ยงเบนจากทิศตะวันออกซึ่งเปcนทิศหลัก
- คูน้ำลIอมรอบ ไดIแก& ไม&มีคูน้ำ มีคูน้ำลIอมรอบเวIนทางเขIาดIานตะวันออก
มีคูน้ำลIอมรอบเวIนทางเขIาทั้งทิศตะวันออกและตะวันตก
- ลัทธินิกาย ไดIแก& ไศวนิกาย ไวษณพนิกาย และพุทธศาสนา
- การกำหนดอายุสมัย โดยระบุถึงจารึกหรือหลักฐานชิ้นเด&นที่สามารถ
บ&งบอกอายุสมัยไดI
(3) คุณลักษณะของตระพังและบาราย ไดIแก&
- ทิศทางหรือการวางตัวเมื่อเทียบกับตำแหน&งของปราสาท
- ขนาดความกวIางและความยาว
- ความจุ ซึ่งในกรณีนี้ใชIขIอมูลจากแผ&นปายของโครงการพัฒนาแหล&งน้ำ
แต&ละชุมชนที่ติดอยู& ณ ตระพังหรือบารายนั้น ๆ
- การระบายน้ำ ไดIแก& ท&อรับน้ำเขIา-ออก หรือฝายน้ำลIน
- เสIนทางน้ำที่เกี่ยวขIอง ไดIแก& ลำน้ำธรรมชาติ คลองขุด หรือแนวคันดิน
บังคับน้ำ
- สภาพในปZจจุบัน ไดIแก& กักเก็บน้ำ หรือเปลี่ยนแปลงสภาพเปcนที่นา
(4) ตำแหน&งที่ตั้งของชุมชนและโบราณสถานในบริเวณใกลIเคียง
7