Page 10 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 10
สวาทเยามาจำนวน 23 หมูJบ&าน ได&รับการซJอมแซมให&สวยงาม นJาชมเปQนอยJางยิ่ง...” (กรมศิลปากร,
2529: 228 - 232) โดยอ&างเก็บน้ำหรือตระพังของปราสาทพนมวันที่อยู&ทางตะวันออกของปราสาทมี
ชื่อว&า สระเพลง มีขนาดกวIาง 275 เมตร ยาว 475 เมตร ส&วนบารายใหญ&ประจำเมืองบริเวณปราสาท
พนมวันนั้นตั้งอยู&ทางทิศเหนือ มีความกวIาง 525 เมตร ยาว 1,800 เมตร ซึ่งเอื้อประโยชนTต&อการ
เกษตรกรรมหรือการจัดการน้ำของหมู&บIานในบริเวณเมืองนี้ (ธาดา สุทธิธรรม, 2544: 167)
นอกจากนี้ก็มีปราสาทขนาดเล็กที่สรIางขึ้นเพื่อเปcนศูนยTกลางชุมชนต&าง ๆ เช&น ปราสาท
สระกำแพงใหญ& กู&พระโกณา กู&กาสิงหT กู&บIานเมย ฯลฯ โดยจารึกสระกำแพงใหญ& (พ.ศ. 1585)
กล&าวถึง “...และพระกัมรเตงอัญศิวทาส ซื้อที่ดินนี้ซึ่งอยูJติดกับตระพังพราหมณT แกJกำสเตงโขลญมุข
ประติปVกษT และได&แนะนำพระกัมรเตงอัญพญาบาร เพื่อปVกหลักเขต และทำการถวายเจาะจง
สงกรานตTในกัมรเตงชคต ศรีพฤทเธศวร ข&าวสาร 1 กระบุง ข&าที่ทำกัลปนานั้นมีไตกันโส ไตกันโสอีก
ไตกำพฤก ไตถะเกน....” (กรมศิลปากร, 2529: 171 - 175) จารึกกู&บIานเมย (พ.ศ. 1596) ก็ไดI
กล&าวถึง “เมื่อพระอาทิตยTตกดิน ข&าวเปลือกก็ให&จัดมาเก็บรักษาไว&ในอาศรม สJวนนาข&าวให&สิเตง
อวิละ สังเตง อัมวิละ ใต พรหม ใต...สิบท แมJสังสัตยัง สิ ขะ โท สิ จงโธย ไต กัณโฐง....” คือเปcน
คำสั่งใหIขIาทาสดูแลพื้นที่นา (ชะเอม แกIวคลIาย, 2543) แสดงใหIเห็นถึงความสัมพันธTอย&างแน&นแฟน
ระหว&างชนชั้นปกครอง ขIาทาส ศาสนสถาน แหล&งน้ำ และการเกษตรกรรม (Hall, 2011: 184 -
189)
จากการสำรวจในเบื้องตIนพบว&าปราสาทสมัยบาปวนมักมีแบบแผนเฉพาะในการก&อสรIาง
กล&าวคือ มีคูน้ำลIอมรอบปราสาท และทางทิศตะวันออกของปราสาทมักมีอ&างเก็บน้ำหรือ “ตระพัง”
ซึ่งมีสัดส&วนความกวIางต&อความยาวเท&ากับ 1 : 2 หรือบางแห&งก็มีอ&างเก็บน้ำอยู&ทางทิศเหนือ และ
บางแห&งก็มีอ&างเก็บน้ำขนาดใหญ&หรือบารายอีกดIวย (เช&นกรณีปราสาทพนมวันที่กล&าวแลIวขIางตIน)
น&าสังเกตว&าตระพังหรือบารายบางแห&งหมดสภาพกลายเปcนที่นา แต&หลายแห&งยังคงใชIประโยชนTอยู&
ในทุกวันนี้ คือมีการขุดลอกและพัฒนาจากองคTการบริหารส&วนตำบลในพื้นที่ต&าง ๆ (และพื้นที่รอบ ๆ
อ&างเก็บน้ำก็ยังมีนาขIาวของราษฎรอยู&ดIวย) อันสะทIอนใหIเห็นประโยชนTของการพัฒนาแหล&งน้ำที่มี
ความจำเปcนต&อการดำรงชีพของมนุษยTนับตั้งแต&อดีตจวบจนถึงปZจจุบัน
ถึงแมIว&าประเด็นศึกษาเรื่องการจัดการน้ำของเมืองพระนครในกัมพูชาซึ่งไดIชื่อว&าเปcนเมือง
แห&งระบบชลประทาน (Hydraulic City) จะเปcนที่สนใจในวงกวIาง (Groslier, 2007 ; Fletcher et
al, 2008 ; Kummu, 2009 ; ชากสT ดูมารTกเซยT, 2548) แต&การศึกษาเรื่องการจัดการน้ำของชุมชน
เขมรในประเทศไทยยังมีไม&มากนัก โดยงานคIนควIาชิ้นสำคัญเปcนของธาดา สุทธิธรรม (2544) เรื่อง
“ผังเมืองในประเทศไทย: ผังชุมชนและการใช&ที่ดินสายอารยธรรมเขมรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”
ซึ่งไดIนำเสนอถึงแบบแผนการตั้งถิ่นฐานรวมทั้งการจัดการแหล&งน้ำของชุมชนเขมรโบราณทุกยุค
ทุกสมัย โดยแบ&งออกเปcน 5 ประเภท ดังนี้
3