Page 13 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 13

1.2)  วัตถุประสงค@ของการวิจัย

                           ศึกษาวิเคราะหTคุณลักษณะของปราสาท ตระพัง และบารายของชุมชนเขมรสมัยบาปวน

                    ช&วงกลางพุทธศตวรรษที่ 16 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 17 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย
                    เพื่อตีความถึงสภาพทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจในช&วงดังกล&าว ซึ่งเปcนระยะเวลาที่

                    วัฒนธรรมเขมรโบราณแพร&หลายเขIามาในดินแดนประเทศไทยอย&างเขIมขIน


                    1.3)     ประโยชน@ที่คาดวIาจะไดKรับ

                           เขIาใจถึงคุณลักษณะของปราสาท ตระพัง และบารายของชุมชนเขมรสมัยบาปวน ช&วงกลาง
                    พุทธศตวรรษที่ 16 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 17 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และเขIาใจถึง

                    สภาพทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจในช&วงดังกล&าว ซึ่งเปcนระยะเวลาที่อารยธรรมเขมรโบราณ

                    แพร&หลายเขIามาในดินแดนประเทศไทยอย&างเขIมขIน


                    1.4)  กรอบแนวคิดของการวิจัย
                           อารยธรรมเขมรโบราณมีลักษณะเด&นในการกำหนดแบบแผนต&าง ๆ ที่สัมพันธTกับอำนาจ

                    การปกครอง คติความเชื่อทางศาสนา และระบบเศรษฐกิจที่พึ่งพาการทำนา การแพร&หลายของ
                    วัฒนธรรมเขมรโบราณเขIามาในดินแดนไทยส&วนหนึ่งเปcนผลมาจากการขยายอำนาจทางการเมือง

                    ของกษัตริยTองคTสำคัญ 2 พระองคT คือ พระเจIาสูรยวรมันที่ 1 (ครองราชยT พ.ศ. 1545 – 1593) และ

                    พระเจIาอุทัยทิตยวรมันที่ 2 (ครองราชยT พ.ศ. 1593 – 1609) ทำใหIเกิดการก&อสรIางชุมชน (ปุระ)
                    ศาสนสถาน (ปราสาท) อ&างเก็บน้ำประจำปราสาทหรือชุมชน (ตระพัง) และอ&างเก็บน้ำใหญ&ของเมือง

                    (บาราย) ขึ้นหลายแห&ง เห็นไดIจากรูปแบบของปราสาท ตระพัง และบารายที่น&าจะมีแบบแผน เช&น
                    ปราสาทวางตัวตามแนวแกนทิศ มีคูน้ำลIอมรอบปราสาท มีตระพังดIานทิศตะวันออกของปราสาท

                    เปcนตIน

                           โดยการเจริญเติบโตขึ้นของชุมชนเขมรจำนวนมากในช&วงกลางพุทธศตวรรษที่ 16 ถึงกลาง
                    พุทธศตวรรษที่ 17 ที่กระจายอยู&ในหลายพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือย&อมสะทIอนใหIเห็นถึง

                    ความเจริญรุ&งเรืองทางเศรษฐกิจ และพระราชอำนาจอันเปF˜ยมลIนขององคTพระมหากษัตริยT รวมทั้ง

                    แนวทางในการบริหารจัดการชุมชนทIองถิ่นที่ผ&านการกำหนดกฎเกณฑTมาจากส&วนกลาง คลIายกับ
                    การกำหนดลักษณะแผนผังของบIานมีไฟและอาโรคยศาลาหรือศาสนสถานประจำโรงพยาบาลใน

                    สมัยพระเจIาชัยวรมันที่ 7 ในช&วงพุทธศตวรรษที่ 18











                                                            6
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18