Page 15 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 15
1.5.3) วิเคราะหTขIอมูลโดยจัดจำแนกประเภทของปราสาท ตระพัง และบารายของชุมชน
จากการพิจารณาที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตรT รูปแบบ ขนาด ทิศทาง ฯลฯ และอาศัยระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตรT (GIS) ซึ่งจะช&วยแปลความเกี่ยวกับลักษณะการตั้งถิ่นฐานและระบบการจัดการน้ำไดI
1.5.4) สังเคราะหTขIอมูลเพื่อตีความเกี่ยวกับสภาพทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และ
อำนาจการเมืองของเขมรในดินแดนไทย ในช&วงกลางพุทธศตวรรษที่ 16 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 17
1.5.5) สรุปผลการศึกษา และจัดพิมพTรายงานวิจัย
1.6) ขอบเขตของการวิจัย
ดIานพื้นที่ : ปราสาท ตระพัง และบารายของชุมชนเขมรโบราณ จำนวน 33 แห&ง ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ไดIแก& นครราชสีมา บุรีรัมยT สุรินทรT ศรีษะเกษ อุบลราชธานี
รIอยเอ็ด มหาสารคาม ขอนแก&น ชัยภูมิ และสกลนคร
ดIานระยะเวลา : สมัยบาปวน ตรงกับช&วงกลางพุทธศตวรรษที่ 16 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่
17 หรือประมาณ พ.ศ. 1550 - 1650
1.7) ระยะเวลาที่ทำวิจัย
ระยะเวลาที่ทำวิจัย 1 ปF (กันยายน 2562 - กันยายน 2563)
1.8) ขKอจำกัดของการศึกษา
1.8.1) ปราสาทหลายแห&งอยู&ในสภาพชำรุดทรุดโทรม (บางแห&งถูกลับลอบขุดหรือระเบิด
ทำลาย) จึงยากแก&การกำหนดอายุที่แน&นอน และคูน้ำลIอมรอบปราสาทหลายแห&งก็ตื้นเขินจนหมด
สภาพไปแลIว จึงยากต&อการระบุแผนผังของปราสาทที่ชัดเจน
1.8.2) ตระพังและบารายบางแห&งตื้นเขินหรือบางแห&งมีการขุดลอกใหม&โดยหน&วยงาน
ทIองถิ่น ทำใหIยากต&อการบันทึกขIอมูลเรื่องขนาดและโดยเฉพาะความจุดั้งเดิม
1.9) นิยามศัพท@
เมื่อกล&าวถึงอ&างเก็บน้ำในวัฒนธรรมเขมรโบราณโดยทั่วไปมักเรียกว&า “บาราย” ตามอย&าง
บารายที่เมืองพระนครประเทศกัมพูชา ซึ่งในจารึกไม&ไดIใชIคำว&าบาราย แต&ใชIคำศัพทTภาษาสันสกฤต
เรียกว&า “ตฏากะ” (Taṭāka) หรือสระน้ำศักดิ์สิทธิ์ ตัวอย&างเช&น อินทรตฏากะ (Indrataṭāka คือ
บารายที่เมืองหริหราลัย) ยโศธรตฏากะ (Yaçodharataṭāka คือบารายตะวันออก) ชัยตฏากะ
(Jayataṭāka คือบารายที่ปราสาทพระขรรคT) อย&างไรก็ตาม ผูIวิจัยมีความเห็นพIองกับมัตติ กุมมุ
8