Page 16 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 16
(Matti Kummu) นักวิชาการดIานการจัดการทรัพยากรน้ำ ที่ไดIแบ&งระดับของการจัดการน้ำของเขมร
โบราณออกเปcน 3 ระดับตามขนาดของชุมชน (Kummu, 2009: 1416) ดังนี้
1) ระดับครัวเรือน (household level) มีการขุดบ&อน้ำเล็ก ๆ หรือคูน้ำลIอมรอบเนินดิน
เพื่อกักเก็บน้ำไวIใชIในฤดูแลIง
2) ระดับหมู&บIาน (Village level) มีการขุดอ&างเก็บน้ำหรือ “ตระพัง” ใกลIกับศาสนสถาน
โดยตระพังมีสัดส&วนความกวIางต&อความยาวเท&ากับ 1 : 2 และมักวางตัวตามแกนทิศ
ตะวันออก-ตะวันตก
3) ระดับเมือง (city level) มีการสรIาง “บาราย” เปcนอ&างเก็บน้ำขนาดใหญ& ซึ่งไม&ไดIมี
สัดส&วนความกวIางต&อความยาวเท&ากับ 1 : 2 โดยก&อคันดินลIอมรอบพื้นที่อันกวIางขวาง
เพื่อกักเก็บน้ำฝนและน้ำที่ไหลมาจากแม&น้ำสายต&าง ๆ ทั้งยังมีแนวคันดินบังคับน้ำและ
คูคลองส&งน้ำดIวย
จากการศึกษาของทรงธรรม ปานสกุณ ยังไดIพบว&ามีจารึกภาษาเขมรยุคเมืองพระนคร
เรียกแหล&งน้ำว&า “ตระพัง” (travāṅ) เปcนจำนวนมาก เช&น ตระพังพระอิศวร ตระพังบรรพบุรุษ
ตระพังไทร ตระพังดอกบัว ตระพังใหญ& เปcนตIน (ทรงธรรม ปานสกุณ, 2554: 149 - 156) ที่ปราสาท
ตาเล็ง จ.ศรีสะเกษ ราษฎรในพื้นที่ก็เรียกอ&างเก็บน้ำหนIาปราสาทว&า “ตระเปFยงละเบิก” หรืออ&างเก็บ
น้ำใกลIพระธาตุเชิงชุมในเมืองหนองหานหลวง จ.สกลนคร มีชื่อว&า “สระพังทอง” (คือ ตระพังทอง)
และอ&างเก็บน้ำดIานตะวันออกของปราสาทพนมวัน จ.นครราชสีมา มีชื่อว&า “สระเพลง” ซึ่งน&าจะ
เลือนมาจากคำว&า “ตรอเปFยง” ในภาษาเขมร และยังมีแนวคันดินรูปสี่เหลี่ยมเปcนอ&างเก็บน้ำขนาด
ใหญ&คือ บารายอีกแห&งหนึ่งอยู&ทางตะวันตกเฉียงเหนือของปราสาทพนมวันดIวย
ดIวยเหตุนี้ผูIวิจัยจึงใชIศัพทT “ตระพัง” สำหรับอ&างเก็บน้ำประจำปราสาทหรือชุมชนขนาดเล็ก
ส&วนศัพทT “บาราย” ใชIหมายถึงอ&างเก็บน้ำใหญ&ของชุมชนระดับเมือง โดยทั้งสองคำมีการใหI
ความหมายไวIอย&างเปcนทางการดังนี้
1.9.1) ตระพัง
พจนานุกรมภาษาเขมรโบราณ - ฝรั่งเศส - อังกฤษ (Dictionaire vieux khmer –
française - anglais (An Old Khmer – French - English Dictionary) ของสาวรส เพา (Saveros
Pou) ผูIเชี่ยวชาญการอ&านจารึกเขมรโบราณชาวกัมพูชา ไดIใหIความหมายคำว&า ตระพัง (travaṅ,
travāṅ) คือ สระน้ำที่ขุดขึ้นประจำชุมชน (Etang creusé du village หรือ village pond) (Pou,
1992: 229)
9