Page 17 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 17

โคลด ชาค (Claude Jacques) ผูIเชี่ยวชาญการอ&านจารึกเขมรโบราณชาวฝรั่งเศส ระบุว&า

                    ตระพัง หรือตรอเปFยง (trapeang) เปcนภาษาเขมร คือ บ&อหรือสระน้ำขนาดเล็ก (small tank or

                    pond) ซึ่งโดยทั่วไปสรIางขึ้นโดยฝFมือมนุษยT และมักมีคำนามเฉพาะตามหลังเพื่อสื่อถึงที่มาของ
                    แหล&งน้ำนั้น ๆโดยเฉพาะ (Jacques and Lafond, 2007: 275)

                           พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พ.ศ. 2554) ใหIความหมายว&า แอ&ง, บ&อ, หนอง,

                    เช&น กลางเมืองสุโขทัยนี้มีน้ำตระพังโพยสี (จารึกหลักที่ 1), ตะพัง กระพัง หรือ สะพัง ก็ว&า ทั้งนี้
                    เว็บไซตTของสำนักงานราชบัณฑิตยสถาน (23 กุมภาพันธT 2550) อธิบายไวIอย&างละเอียดว&า

                    “ตระพัง” มีรากศัพทTมาจากภาษาเขมรว&า “ตรฺพำง” (อ&านว&า ตรอเปFยง) แปลว&า บ&อหรือสระน้ำที่
                    ขุดขึ้น ไทยเรารับเอาคำนี้มาใชIในความหมายเดียวกัน แต&แปลงเปcนหลายรูปแบบ เช&น ตระพัง ตะพัง

                    สะพัง กะพัง หรือ พัง ส&วนใหญ&เปcนชื่อของสระน้ำในบริเวณสถานที่หรือโบราณสถานที่เคยไดI

                    รับอิทธิพลจากขอมหรือเขมรโบราณ เช&น ในอุทยานประวัติศาสตรTสุโขทัย มีสระน้ำขนาดใหญ&
                    อยู& 4 แห&ง เรียกชื่อว&า ตระพังเงิน ตระพังทอง ตระพังสอ และตระพังตะกวน ในเขต อ.อู&ทอง

                    จ.สุพรรณบุรี ก็มีสระน้ำขนาดใหญ&อยู&แห&งหนึ่ง เรียกชื่อว&า สะพังนาก


                           1.9.2)  บาราย

                           โคลด ชาค ระบุว&า บาราย (bārāy) เปcนภาษาเขมร คือ อ&างเก็บน้ำ (reservoir) ซึ่งน้ำถูก
                    กักเก็บไวIภายในแนวเขื่อนคันดินอันแข็งแรง (แทนที่วิธีการขุดใหIลึกลงไปใตIระดับพื้นดินเพื่อใชI

                    กักเก็บน้ำ) บารายเปcนรูปสี่เหลี่ยมผืนผIา มีหลายขนาด บารายขนาดใหญ&ที่สุดคือ บารายตะวันตกที่

                    เมืองพระนคร ประเทศกัมพูชา (Jacques and Lafond, 2007: 272)
                           หนังสือ Sculpture of Angkor and Ancient Cambodia (1997: 357) ใหIคำอธิบายไวIใน

                    อภิธานศัพทTว&า บาราย คือ อ&างเก็บน้ำ (ที่ไม&ไดIขุดขึ้น) ซึ่งกักเก็บน้ำไวIดIวยแนวเขื่อนคันดินอันแข็งแรง

                    เพื่อกักเก็บน้ำไวIใชIในฤดูแลIง สำหรับการชลประทานไปยังนาขIาวและแจกจ&ายน้ำใหIกับประชาชน
                    และบางกรณียังถือว&าบารายเปcนสัญลักษณTของมหาสมุทรดIวย

                           ศัพทานุกรมโบราณคดีของกรมศิลปากร (พ.ศ. 2550) ใหIความหมายว&า อ&างเก็บน้ำขนาด
                    ใหญ&สรIางในวัฒนธรรมเขมร (กรมศิลปากร, 2550: 289)


                    1.10)  ขKอตกลงเบื้องตKน

                           การศึกษาครั้งนี้จำเปcนตIองอIางอยู&เสมอถึงประวัติศาสตรTของกัมพูชาโบราณและยุคสมัยของ

                    ศิลปะเขมร เหตุนี้จึงตIองขอนำเสนอขIอมูลไวIในเบื้องตIนอันประกอบดIวย









                                                            10
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22