Page 41 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 41

2.5)  เมืองและการจัดการน้ำของเขมรโบราณ

                           อันที่จริงแล0วชุมชนที่มีคูน้ำคันดินในประเทศกัมพูชาปรากฏมาแล0วตั้งแตDยุคกDอน

                    ประวัติศาสตรG ตัวอยDางเชDนชุมชนโบราณผังกลม (circular earthwork) ในเขต จ.กำปงจาม
                    (Kampong Cham) ทางตะวันออกเฉียงใต0ของกัมพูชาเขตติดตDอกับประเทศเวียดนาม (Albrecht et

                    al., 2000) หรือแหลDงโบราณคดีสมัยเหล็ก (กำหนดอายุชDวงพุทธศตวรรษที่ 6 - 10) ชื่อ ภูมิโลเวีย

                    (Phum Lovea) ตั้งอยูDทางตะวันตกของบารายตะวันตกที่เมืองพระนคร (O’Reilly and Shewan,
                    2016) (ภาพที่ 12)



























                                ภาพที่ 12 ชุมชนโบราณมีคูน้ำคันดินล0อมรอบในยุคกDอนประวัติศาสตรGของกัมพูชา

                                 (ที่มา: Albrecht et al., 2000: Fig.5 ; O’Reilly and Shewan, 2016: Fig.2)

                           เมื่อเข0าสูDยุคประวัติศาสตรGในสมัยฟูนันก็ปรากฏเครือขDายคูคลองที่สลับซับซ0อนบริเวณเมือง

                    อังโกรG บอเร็ย และโอแก0ว (ออกแก0ว) ซึ่งตั้งอยูDในเขตดินดอนสามเหลี่ยมปากแมDน้ำโขง (Vo Si Khai,
                    2003: 48 ; Stark, 2006) สDวนเมืองสมัยเจนละนั้นตั้งอยูDริมฝÑÖงแมDน้ำโขง โดยได0พบจารึกพระเจ0า

                    มเหนทรวรมันในบริเวณบ0านหลวงเกDา (หรือบ0านวัดหลวงเกDา) ซึ่งมีข0อสันนิษฐานวDาเปàนเมืองโบราณ

                    ชื่อ “เศรษฐปุระ” (Çreṣṭhapura) หรือ “ลิงคปุระ” (Lingapura) ตัวเมืองมีผังเปàนรูปสี่เหลี่ยม
                    ขนาด 2 ตารางกิโลเมตร มีคูน้ำคันดินล0อมรอบ มีคูคลองและบDอน้ำหลายแหDง ทิศตะวันตกของเมือง

                    หDางออกไปประมาณ 5 กิโลเมตรเปàนแนวภูเขาที่ตั้งของปราสาทวัดพูศูนยGกลางความศักดิ์สิทธิ์แหDง

                    หนึ่งของอาณาจักรกัมพูชา (Engelmann, 2012: 120 - 130 ; Jacques and Lafond, 2007: 73)
                    (ภาพที่ 13)










                                                            34
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46