Page 39 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 39

ไม$เพียงแต$ปรากฏพระราชอำนาจของพระเจ8าชัยวรมันที่ 7 ในเขตภาคตะวันเฉียงเหนือและ

                    ภาคตะวันออกของไทยเท$านั้น แต$ยังได8พบเมืองและปราสาทที่สร8างขึ้นในระยะนี้ในเขตภาคกลาง

                    (พระปรางค^สามยอด เมืองลพบุรี) ภาคตะวันตก (เช$น เมืองสิงห^ จ.กาญจนบุรี วัดมหาธาตุ จ.ราชบุรี
                    วัดกำแพงแลง จ.เพชรบุรี) และภาคเหนือตอนล$าง (วัดพระพายหลวง และวัดเจ8าจันทร^ จ.สุโขทัย)

                    (ภาพที่ 11)

                           ในสมัยพระเจ8าชัยวรมันที่ 7 นี้อิทธิพลวัฒนธรรมเขมรได8แพร$หลายไปกว8างขวางมากที่สุด
                    เท$าที่เคยมีมา อันสะท8อนให8เห็นถึงพระราชอำนาจอันล8นพ8นของพระมหากษัตริย^ ความรุ$งเรืองของ

                    พุทธศาสนานิกายวัชรยาน ตลอดจนความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจที่สามารถควบคุมผืนที่ดินเพาะปลูกข8าว
                    ที่มีมาแต$เดิมและยึดครองที่ดินผืนใหม$ ๆ โดยเฉพาะในลุ$มน้ำบางปะกง เจ8าพระยา ท$าจีน และ

                    แม$กลอง ซึ่งดินแดนเหล$านี้เคยอยู$ภายใต8วัฒนธรรมทวารวดี และยังสามารถควบคุมทรัพยากรแร$ธาตุ

                    คือเกลือในภาคอีสานและดีบุกในภาคตะวันตกของไทยด8วย (O’Naghten, 2014: 409 - 415)
                    แต$เมื่อพระองค^สิ้นพระชนม^ลงในช$วงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 18 ก็กลายเปWนจุดเริ่มต8นของการ

                    ล$มสลายของเมืองพระนครและอำนาจของเขมรโบราณ (โดยมีปNจจัยอื่น ๆ ร$วมด8วย) เพราะกลุ$ม
                    รัฐไทย ทั้งสุโขทัย ล8านนา และอยุธยา ได8ก8าวขึ้นมามีบทบาทในช$วงปลายพุทธศตวรรษที่ 18 - 19

                    พร8อมกับการเจริญขึ้นของพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ^ที่มีบทบาทสำคัญอย$างมากตั้งแต$ช$วงเวลานั้น

                    เปWนต8นมาทั้งในเขตประเทศไทยและประเทศกัมพูชา (Thompson, 1997)













































                                                            32
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44