Page 34 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 34

ตะวันตก (West Mebon) ไว8กึ่งกลางบารายตะวันตก (ที่มาสร8างแล8วเสร็จในรัชกาลนี้) รวมทั้งสลัก

                    ภาพทางศาสนาพราหมณ^ไว8ที่ต8นน้ำลำธารของเมืองพระนคร (บริเวณกบาลสเปkยนและพนมกุเลน)

                    เพื่อเพิ่มความศักดิ์สิทธิ์ให8กับสายน้ำที่หล$อเลี้ยงการเกษตรกรรมของเมือง (Jacques, 2002: 144)
                           จารึกในสมัยของพระเจ8าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 ที่พบในประเทศไทยก็ปรากฏเกือบตลอด

                    รัชกาลเช$นเดียวกับรัชกาลก$อนหน8า เช$น จารึกสดûกกûอกธม จ.สระแก8ว (K.235 ศักราชตรงกับ พ.ศ.

                    1595) จารึกบ8านเมย จ.ขอนแก$น (พ.ศ. 1596) จารึกพนมวัน 2 จ.นครราชสีมา (K.393 ศักราช
                    ตรงกับ พ.ศ. 1598) จารึกปราสาทเขาหลุบ (เขาดุม) จ.บุรีรัมย^ (พ.ศ. 1599) และจารึกบ8านซับบาก

                    จ.นครราชสีมา (พ.ศ. 1609) จารึกเกือบทั้งหมดเกี่ยวเนื่องกับศาสนาพราหมณ^และพบที่เทวาลัย
                    มีเพียงจารึกบ8านซับบากที่ไม$พบร$วมกับปราสาท โดยค8นพบที่บ8านสะแกราช อ.ปNกธงชัย จารึกหลักนี้

                    เล$าถึงการประกอบพิธีทางพุทธศาสนาโดยระบุถึงพระพุทธเจ8า 5 พระองค^ พระวัชรสัตว^ และพระ

                    โลเกศวร (อวโลกิเตศวร) อันแสดงถึงคติความเชื่อในนิกายวัชรยานตันตระในช$วงต8นพุทธศตวรรษที่
                    17 ได8เปWนอย$างดี (จิรัสสา คชาชีวะ, 2559: 253 - 259)


                           2.3.2)  รัชกาลพระเจ1าหรรษวรมันที่ 3 และพระเจ1าชัยวรมันที่ 6

                           น$าเสียดายที่จารึกไม$ได8ให8ข8อมูลมากนักเกี่ยวกับเหตุการณ^ในรัชสมัยของพระเจ8าหรรษวรมัน

                    ที่ 3 (ครองราชย^ พ.ศ. 1609 - 1623) ซึ่งอาจเปWนเพราะต8องทรงฟô°นฟูประเทศที่เสียหายจากการทำ
                    สงครามปราบกบฏในรัชกาลก$อน รวมทั้งมีการทำสงครามกับจามปาด8วย (Jacques, 2002: 144 -

                    145 ; มาดแลน จิโต, 2543: 54) แต$จารึกปราสาทเสลา (Sralau - K.782 ศักราชสุดท8ายตรงกับ

                    พ.ศ. 1614) ก็ได8กล$าวถึงพระบรมราชโองการของพระเจ8าหรรษวรมันที่ 3 ที่รับสั่งให8ขุนนางชื่อ
                    นฤปตีนทรวรมันฟô°นฟูบูรณะเมือง (ที่ปราสาทเสลา) ที่สร8างขึ้นมาโดยเสนาบดีวีเรนทรวรมันในสมัย

                    พระเจ8าชัยวรมันที่ 5 และถูกทิ้งร8างไปในสมัยพระเจ8าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 โดยนฤปตีนทรวรมัน

                    ได8สถาปนาศิวลึงค^ พร8อมทั้งเทวรูปพระศิวะและพระวิษณุขึ้นด8วย (Briggs, 1999: 177)
                           ต$อมาพระเจ8าชัยวรมันที่ 6 ได8เสด็จขึ้นครองราชย^แทน (ครองราชย^ พ.ศ. 1623 - 1650)

                    โดยพระองค^มาจากสายตระกูลแห$งมหิธรปุระ ซึ่งยังไม$ทราบแน$ชัดว$าอยู$ ณ ที่ใด แต$มีข8อสันนิษฐาน
                    ว$าคงเปWนบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล$างแถบเมืองพิมาย ปราสาทพนมวัน และปราสาท

                    พนมรุ8ง เพราะพบจารึกที่กล$าวถึงพระองค^ ในขณะที่เมืองพระนครกลับไม$พบหลักฐานของพระองค^
                    (Jacques, 2002: 147 ; มยุรี วีระประเสริฐ, 2559 ข: 303)

                           โดยจารึกพนมวัน 3 (K.391 ศักราชตรงกับ พ.ศ. 1625) นั้นให8รายละเอียดเกี่ยวกับพระบรม

                    ราชโองการของพระเจ8าชัยวรมันที่ 6 ให8ขุนนางดูแลรักษา “เทวาศรม” ทั้งยังระบุถึงผู8รักษาพระบัญชี
                    ซึ่งควบคุมทอง เงิน และยุ8งฉาง โดยแต$ละวันให8ถวายสิ่งของเหล$านี้แด$เทพเจ8า เช$น ข8าวสาร เสื้อผ8า

                    เครื่องหอม ดอกไม8 อาหาร เนยเหลว นมเปรี้ยว ฯลฯ และได8กล$าวถึงการถวายข8าทาสจำนวน 24 คน






                                                            27
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39