Page 31 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 31
ปNกหลักเขต ใน พ.ศ. 1555 กัมสเตงอัญลักษมิปติวรมัน ได8ซื้อที่ดิน มัตจังวา จาก วาปชูประลาย
ซึ่งเปWนทรัพย^มรดก โดยซื้อด8วยขันเงิน 4 ใบ หนัก 2 ชั่ง แหวน 4 วง หนัก 4 ตำลึง ถ8วย 1 ใบ
กระโถน 1 ใบ ผ8า 10 ผืน มีการปNกหลักเขตตามทิศต$าง ๆ แต$ใน พ.ศ. 1556 กัมสเตงมลวย มีปNญหา
โกรธเคืองกับ กัมสเตงอัญลักษมิปติวรมัน โดยประกาศว$าตนเปWนหัวหน8าดูแลที่ดินและสั่งให8คนไป
เกี่ยวข8าวในนานั้น กัมสเตงอัญลักษมิปติวรมัน จึงร8องเรียนไปยังพระเจ8าสูรยวรมันที่ 1 ซึ่งรับสั่งให8
ตุลาการตัดสินคดีความ กัมสเตงมลวย มอบหมายให8 วาปชู ซึ่งครอบครองที่ดินนั้นออกหน8าในการว$า
ความแต$ก็แพ8คดี พระสภาจึงลงโทษ แต$ วาปชู ร8องขอชีวิตโดยถวายทรัพย^สินทั้งหมดและมอบสิทธิ์
ในที่ดินนั้นแก$ กัมสเตงอัญลักษมิปติวรมัน จนกระทั่งใน พ.ศ. 1557 มรตาญขโลญศรีวิเรนทรวัลลภะ
ก็ได8ถวายที่ดินแด$พระกัมรเตงอัญศิวลึงค^ที่มัธยเทศ และมอบสมบัติต$าง ๆ รวมทั้งข8าทาสชายหญิงไว8
รับใช8ด8วย (กังวล คัชชิมา, 2557: 90 - 91)
กังวล คัชชิมา ตั้งข8อสังเกตไว8ว$า จารึกโอเสม็ดชี้ให8เห็นถึงการดูแลทรัพย^สมบัติและ
ผลประโยชน^ของที่ดินที่เปWนของศาสนสถาน ตระกูลที่ดูแลจะได8รับผลประโยชน^มหาศาลทั้งใน
ปNจจุบันและอนาคต ทั้งญาติและผู8สืบทอดหรือลูกหลานมีสิทธิ์เต็มที่ในการจัดการทรัพย^สินที่เกิดจาก
ที่ดินของศาสนสถาน (กังวล คัชชิมา, 2557: 92) ด8วยเหตุนี้ในสังคมเขมรโบราณที่ดินจึงมีคุณค$ายิ่ง
เพราะแสดงถึงความมั่งคั่งและอำนาจ เจ8าของที่ดินสามารถควบคุมทั้งผลผลิตทางการเกษตรและ
กำลังคนในที่ดินนั้น ๆ (Ricklefs, 1967: 412) และมีข8อสังเกตว$านับตั้งแต$นับตั้งแต$สมัยพระเจ8า
ชัยวรมันที่ 5 จนถึงสมัยพระเจ8าสูรยวรมันที่ 1 นั้นมีจารึกของข8าราชการจำนวนมาก (มากที่สุดเมื่อ
เทียบกับสมัยอื่น ๆ) ที่กล$าวอ8างถึงการสร8างปราสาท การกำหนดเขตที่ดินและสิทธิประโยชน^ต$าง ๆ
ขณะที่ในสมัยก$อนหน8านี้จารึกจะเปWนขององค^กษัตริย^โดยตรงเสียมากกว$า (Vickery, 1985: 229,
233 ; Lustig, Evans and Richards, 2007: 18 - 19) (แผนภูมิที่ 1)
เคนเนท อาร^ ฮอลล^ (Kenneth R.Hall) นักประวัติศาสตร^ เสนอว$า รัชสมัยของพระเจ8า
สูรยวรมันที่ 1 เปWนช$วงแห$งการพัฒนาระบบทางเศรษฐกิจและการเมืองของเขมรให8รวมเปWนอันหนึ่ง
อันเดียวกัน โดย “เครือข$ายวัด” หรือปราสาทมีบทบาทสำคัญมากในการพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐ
ที่พึ่งพาการเกษตรกรรม (Agrarian state) วัดประจำตระกูลต8องแบ$งปNนผลผลิตทางการเกษตรที่ได8
ให8กับส$วนกลางซึ่งเท$ากับการแบ$งให8กับกษัตริย^ด8วย การขยายพื้นที่เกษตรกรรมไปยังเขตที่ดินใหม$ ๆ
และการสร8างอ$างเก็บน้ำเพื่อประโยชน^ในการเพาะปลูกข8าวจึงเปWนเปêาหมายสำคัญในแผนพัฒนา
ราชอาณาจักร เพราะวัดหรือปราสาทมีหน8าที่สำคัญ 3 ประการต$อระบบเศรษฐกิจและสังคมเขมร
โบราณ คือ 1) เปWนศูนย^กลางของการผลิตข8าว 2) เปWนคลังความรู8ของชุมชน และ 3) เปWนหน$วย
ควบคุมแรงงานเกษตรกรรม (Hall, 2011: 184 - 189) (แผนภูมิที่ 2)
24