Page 29 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 29

ส$วนจารึกหลักเดียวของพระเจ8าชัยวีรวรมันที่พบในไทย คือ จารึกวัดจงกอ อ.ด$านขุนทด

                    จ.นครราชสีมา (พ.ศ. 1551) ได8กล$าวถึงพระบรมราชโองการให8ข8าราชการรังวัดที่ดินและปNกหลักเขต

                    ของหมู$บ8านตามทิศต$าง ๆ เพื่อถวายที่ดินและข8าทาสแด$กมรเตงชคตวิมาย (คือรูปเคารพประธานที่
                    ปราสาทพิมาย) ดังตัวอย$างข8อความที่ว$า “...ให&มาป*กหลักเขตคำประกาศ ณ ที่ดินตระกวานสเทก

                    และทรัพยBสินที่เกิดจากที่ดินของอาจารยBตริภุวนกิรตติทั้งหลาย ซึ่งได&รับมอบมาด&านทิศตะวันออก - -

                    ให& และที่ดินลังโลงเวรียง ซึ่งเตง อยัก คอาง ชโนก ถวายแดQพระองคB ... ข&ารับใช& (ที่ถวายแดQ) กัมรเตง
                    ชคัต (วิมาย) ได&แกQ โฆอคัต โฆธรรม สิถคุน สิเจรดิต สิกำไว....ไตถเท ไต-ท ไตถเคา ไตกำผยาจ....

                    รวมข&ารับใช& 27 รวมถบาล 20 เหลQานี้...” ทั้งนี้ กังวล คัชชิมา นักวิชาการด8านจารึกเขมรโบราณ
                    ตั้งข8อสังเกตไว8ว$า จารึกวัดจงกอแสดงให8เห็นว$าพระเจ8าชัยวีรวรมันอาจลี้ภัยสงครามมาอยู$แถวเมือง

                    พิมายก็เปWนได8 (กังวล คัชชิมา, 2557: 103)


                           2.3.1)  รัชกาลพระเจ1าสูรยวรมันที่ 1

                           พระเจ8าสูรยวรมันที่ 1 ทรงเปWนกษัตริย^ที่มีอำนาจมากที่สุดพระองค^หนึ่งของกัมพูชาสมัย
                    โบราณ (Briggs, 1999: 167 - 168) พระองค^ทรงก$อสร8างพระราชวังหลวง ซึ่งมีจารึกที่กรอบประตู

                    ของโคปุระหรือซุ8มทางเข8าพระราชวังหลวงกล$าวถึงการทำพิธีถือน้ำพิพัฒน^สัตยาของเหล$าข8าราชการ

                    (tamrvac - ตำรวจ) หลายร8อยคนในปk 1554 ภายหลังจากทรงเอาชนะพระเจ8าชัยวีรวรมันใน
                    สงครามกลางเมืองได8สำเร็จ (Jacques, 2002: 128) ส$วนในประเทศไทยก็ได8พบจารึกสมัยพระเจ8า

                    สูรยวรมันที่ 1 หลายหลักและกินเวลาเกือบตลอดรัชกาล เช$น จารึกพระเจ8าสูรยวรมันที่ 1 พบที่

                    จ.สระแก8ว (K.991 ศักราชตรงกับ พ.ศ. 1551) จารึกปราสาทตาเมือนธม 5 (ศักราชตรงกับ พ.ศ.
                    1563) จารึกศาลสูงหลักที่ 1 เมืองลพบุรี (K.410 ศักราชตรงกับ พ.ศ. 1565, 1568) จารึกปราสาท

                    สระกำแพงใหญ$ (ศักราชตรงกับ พ.ศ. 1585) และจารึกปราสาทพิมาย 2 (K.953 ศักราชตรงกับ พ.ศ.

                    1589)
                           นโยบายของพระเจ8าสูรยวรมันที่ 1 คือการทำให8อาณาจักรของพระองค^เปWนปuกแผ$น มีการ

                    สร8างปราสาทสำคัญตามทิศต$าง ๆ เพื่อประดิษฐานศิวลึงค^สูรยวรเมศวร (Sūryavarmeçvara)
                    ได8แก$ ปราสาทเขาพระวิหาร หรือ “ศรีศิขเรศวร” (Çrī Çikhareçvara) ใน จ.พระวิหาร ทางทิศ

                    เหนือของกัมพูชา ปราสาทพนมจีโสร^ หรือ “สูรยบรรพต” (Sūryaparvata) ใน จ.ตาแก8วทางทิศใต8
                    ของกัมพูชา และ “ชัยเกษตร” (Jayakṣetra) คือปราสาทวัดบาแสท (Vat Baset) หรือปราสาท

                    วัดเอก (Vat EK) ใน จ.พระตะบองทางตะวันตกของกัมพูชา ส$วนปราสาทที่ตั้งอยู$ทางทิศตะวันออก

                    นั้น (อีศานตีรถะ - Īçānatīrtha) ยังไม$ทราบแน$ว$าคือที่ใด (Jacques, 2002: 132) พระองค^ยังได8
                    ทรงเริ่มต8นโครงการก$อสร8างอ$างเก็บน้ำขนาดมหึมาแห$งใหม$ประจำเมืองพระนครคือ บารายตะวันตก









                                                            22
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34