Page 25 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 25
ในเวลาต%อมาได.เกิดเหตุความขัดแย.งขึ้นในราชสำนัก พระเจ.าชัยวรมันที่ 4 ได.เสด็จขึ้น
ครองราชย;ในช%วง พ.ศ. 1471 - 1485 ที่เมืองเกาะแกร; (Koh Ker) ซึ่งตั้งอยู%ห%างจากเมืองพระนครมา
ทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 75 กิโลเมตร ที่เมืองเกาะแกร;มีการก%อสร.างเทวาลัยขนาดใหญ%คือ
ปราสาทธม (Thom temple) ซึ่งมีบารายคือ “ระฮาล” (Rahal หรือละหาน) ประจำเมืองหลวงแห%ง
ใหม%นี้ด.วย (Jacques, 2002: 91 - 93) โดยในช%วงเวลานี้ได.พบจารึกในสมัยของพระเจ.าชัยวรมันที่ 4
ที่เมืองลพบุรี (คือจารึกอัญชัยวรมัน) และพบปราสาทแบบเขมรที่เก%าแก%ที่สุดในภาคกลางที่เมือง
ลพบุรี คือ ปรางค;แขก ซึ่งน%าจะสร.างขึ้นในช%วงนี้หรือหลังจากรัชกาลนี้เล็กน.อย (สฤษดิ์พงศ; ขุนทรง,
2548) ขณะที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล%างก็มีปราสาทในศิลปะสมัยเกาะแกร;อย%างน.อย 3
หลัง ได.แก% ปราสาทโนนกู%และปราสาทเมืองแขก จ.นครราชสีมา (ปราสาททั้งสองหลังนี้อยู%ใกล.กับ
เมืองโบราณเสมา) และปราสาทสังข;ศิลปõชัย จ.สุรินทร; (หม%อมเจ.าสุภัทรดิศ ดิศกุล, 2547 ค: 8)
อย%างไรก็ตาม เมืองเกาะแกร;ก็อยู%ห%างไกลมากจากโตนเลสาบเขมรจึงไม%อุดมสมบูรณ;นัก
ทำให.มีการย.ายเมืองหลวงกลับมาที่เมืองพระนครโดยพระเจ.าราเชนทรวรมัน (ครองราชย; พ.ศ. 1487
- 1511) พระองค;ทรงมีนโยบายฟúùนฟูเมืองพระนครโดยขยายแนวคันบารายตะวันออก และสร.าง
ปราสาทแม%บุญตะวันออก (East Mebon) ขึ้นเปpนเกาะอยู%กลางบารายนั้น นอกจากนี้ยังทรงก%อสร.าง
ปราสาทแปรรูป (Pre Rup) ขึ้นเปpนศาสนบรรพตประจำเมือง จารึกปราสาทบึงเวียน (Beng Vien)
ในกัมพูชา (K.872 ศักราชตรงกับ พ.ศ. 1489) ยังได.กล%าวถึงการที่พระองค;ทรงมีชัยชนะในการทำ
สงครามกับจามปา (ในประเทศเวียดนามปäจจุบัน) และรามัญ (คือมอญ) อีกด.วย (Cœdès, 1953:
101)
ในประเทศไทยได.พบจารึกในสมัยพระเจ.าราเชนทรวรมัน (หรือจารึกที่ปรากฏพระนามของ
พระองค;) ในเขต จ.สระแก.ว ได.แก% จารึกบ.านพังพวย (K.957) ซึ่งกล%าวถึงพระบรมราชโองการของ
พระเจ.าราเชนทรวรมันให.ดูแลศาสนสถาน การกัลปนาที่นาและข.าทาส และจารึกวัดมะกอก (K.999)
ซึ่งเปpนพระบรมราชโองการของพระองค;เช%นกัน นอกจากนี้ในจารึกพนมรุ.ง 3 ซึ่งจารในสมัยพระเจ.า
ชัยวรมันที่ 5 ก็ได.กล%าวถึงการเสด็จขึ้นครองราชย;ของพระองค;ใน พ.ศ. 1487 และที่ปราสาทพนมรุ.ง
นี้เองก็ได.พบสิ่งก%อสร.างรุ%นแรกสุดบนภูเขาศักดิ์สิทธิ์ลูกนี้ เปpนอาคารก%ออิฐทางด.านทิศเหนือของ
ปราสาทประธาน รวมทั้งพบทับหลังและเทวรูปซึ่งน%าจะมีอายุอยู%ในช%วงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่
15 ด.วย (หม%อมราชวงศ;สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์, 2531: 65 - 67, 82, 87) (ภาพที่ 4)
18