Page 23 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 23

โบราณปรากฏอย%างต%อเนื่องในช%วงพุทธศตวรรษที่ 12 ตั้งแต%รัชกาลพระเจ.ามเหนทรวรมัน พระเจ.า

                    อีศานวรมันที่ 1 และพระเจ.าภววรมันที่ 2

                           อย%างไรก็ตาม ในช%วงพุทธศตวรรษที่ 13 - 14 กลับไม%พบหลักฐานที่แสดงให.เห็นถึงพระราช
                    อำนาจของกษัตริย;เขมรในดินแดนไทยปäจจุบัน เพราะในช%วงเวลานั้นเอกสารจีนกล%าวว%ารัฐเจนละ

                    เกิดแตกแยกเปpน “เจนละบก” และ “เจนละน้ำ” ซึ่งกินระยะเวลาประมาณ 100 ปç มีความเปpนไปได.

                    ว%าในช%วงที่วัฒนธรรมเขมรไม%เข.มแข็งนี้ วัฒนธรรมทวารวดีซึ่งมีศูนย;กลางความเจริญในภาคกลางของ
                    ไทยได.แพร%กระจายไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดังได.ค.นพบจารึกอักษรหลังปäลลวะภาษา

                    มอญโบราณเนื่องในพุทธศาสนาหลายหลัก (อายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 - 15) (กรรณิการ; วิมลเกษม,
                    2531) โดยเมืองโบราณที่สำคัญในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีหลักฐานของวัฒนธรรมแบบทวารวดี

                    ได.แก% เมืองเสมา จ.นครราชสีมา เมืองฝêาย จ.บุรีรัมย; เมืองฟêาแดดสงยาง จ.กาฬสินธุ; และเมือง

                    นครจำปาศรี จ.มหาสารคาม เปpนต.น
                           ส%วนงานศิลปกรรมที่สัมพันธ;กับเขมรในช%วงนี้ก็คือ กลุ%มประติมากรรมสำริดรูปพระโพธิสัตว;

                    (อวโลกิเตศวรและเมตไตรยะ) ในพุทธศาสนามหายาน ซึ่งค.นพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล%าง
                    เช%นที่บ.านโตนดและเมืองเสมา จ.นครราชสีมา เมืองฝêายและปราสาทเขาปลายบัด จ.บุรีรัมย; โดยได.

                    ค.นพบร%วมกับพระพุทธรูปสำริดแบบศิลปะทวารวดี ซึ่งประติมากรรมสำริดลักษณะเช%นนี้ก็ได.ค.นพบที่

                    เมืองศรีเทพ จ.เพชรบูรณ; ที่มีพื้นที่ติดต%อกับเขตอีสานใต.ด.วย


                    2.2)  สังเขปประวัติศาสตร2กัมพูชายุคเมืองพระนคร (ช?วงก?อนรัชกาลพระเจBาสูรยวรมันที่ 1)
                           หลังเหตุการณ;วุ%นวายประมาณ 100 ปçในกัมพูชา ใน พ.ศ. 1345 พระเจ.าชัยวรมันที่ 2 ก็ได.

                    เสด็จขึ้นครองราชย;และสถาปนาเปpนองค;พระจักรพรรดิ ทรงประกอบพิธีเทวราช ณ มเหนทรบรรพต
                    (Mahendraparvata) คือ พนมกุเลน (Phnom Kulen) ทางตอนเหนือของเมืองพระนคร

                    โดยข.อมูลสำคัญที่กล%าวถึงพิธีนี้มาจากจารึกสดíกกíอกธม 2 (K.235) พบที่ปราสาทสดíกกíอกธม จังหวัด

                    สระแก.ว (อุไรศรี วรศะริน, 2545) ในรัชกาลพระเจ.าชัยวรมันที่ 2 นั้นถือได.ว%าเปpนช%วงที่กัมพูชากำลัง
                    ก%อร%างสร.างเมืองให.มีความเข.มแข็ง และได.ย.ายเมืองหลวงจากมเหนทรบรรพตลงมายังเมือง

                    หริหราลัย (Hariharālaya) ใกล.กับโตนเลสาบ (Tonle Sap) คือบริเวณหมู%บ.านโรลัวะ (Rolous)

                    ทางตะวันออกเฉียงใต.ของเมืองพระนคร อันเปpนสถานที่ที่พระเจ.าชัยวรมันที่ 2 สวรรคต
                           เมืองหริหราลัยรุ%งเรืองมากในรัชกาลพระเจ.าอินทรวรมันที่ 1 (ครองราชย; พ.ศ. 1420 -

                    1432) เพราะมีการก%อสร.างปราสาท ได.แก% ปราสาทพระโค (Preah Ko) ใน พ.ศ. 1422) ปราสาท

                    บากอง หรือบาโกง (Bakong) เมื่อ พ.ศ. 1424 และอ%างเก็บน้ำขนาดใหญ% คือ อินทรตฏากะ
                    (Indrataṭāka) อันแสดงให.เห็นแบบแผนในการก%อสร.างเมืองของเขมรโบราณ นั่นคือ (1) การสร.าง

                    เทวาลัยถวายบรรพบุรุษซึ่งเปpนปราสาทบนฐานชั้นเดียว (คือปราสาทพระโค) (2) การสถาปนา






                                                            16
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28