Page 33 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 33

ไม$เพียงแต$การจัดการระบบเศรษฐกิจภายในราชอาณาจักรเท$านั้น เพราะน$าสนใจว$า

                    พระเจ8าสูรยวรมันที่ 1 ยังทรงเปWนพันธมิตรกับพระเจ8าราเชนทรโจฬะแห$งอาณาจักรโจฬะในอินเดีย

                    ภาคตะวันออกเฉียงใต8ซึ่งสามารถควบคุมเส8นทางการค8าในน$านน้ำมหาสมุทรอินเดีย และเปWนผู8
                    ยกกองทัพเรือมาโจมตีอาณาจักรศรีวิชัยในปk 1568 (Karashima and Subbarayalu, 2009: 279 -

                    280 ; Hall, 1975: 331 - 336) โดยพระเจ8าสูรยวรมันที่ 1 ทรงถวายบรรณาการแด$พระเจ8าราเชนทร

                    โจฬะ ดังข8อความในจารึกแผ$นทองแดง (Karandai copper-plate) พบในอินเดียระบุศักราชตรงกับ
                    พ.ศ. 1563 ความว$า “พระราชากัมพูชาทรงมีพระราชประสงคBเชื่อมสัมพันธไมตรี และเพื่อคุ&มครอง

                    อนาคตของพระองคBเอง จึงทรงสQงราชรถที่ดีเลิศมาถวาย ซึ่งพระองคBทรงเคยใช&ปราบปรามกองทัพ
                    ของอริราชศัตรูในสงคราม” (Karashima and Subbarayalu, 2009: 278) ทั้งนี้ปkศักราชในจารึก

                    แผ$นทองแดงจากอินเดีย (พ.ศ. 1563) ตรงกับศักราชในจารึกตาเมือนธม 5 ซึ่งเปWนพระบรมราช

                    โองการของพระเจ8าสูรยวรมันที่ 1 รับสั่งให8ข8าราชการไปปNกหลักเขตที่ดินเพื่อพระราชทานเปWนรางวัล
                    แก$บุคคล ส$วนปkที่พระเจ8าราเชนทรโจฬะยกทัพมาตีศรีวิชัย (พ.ศ. 1568) ก็เปWนปkศักราชสุดท8ายใน

                    จารึกศาลสูงหลักที่ 1 เมืองลพบุรีที่ระบุถึงพระราชอำนาจของพระเจ8าสูรยวรมันที่ 1 เหนือเมืองละโว8
                           จารึกศาลสูงหลักที่ 1 เมืองลพบุรี (พ.ศ. 1565, 1568) เปWนพระบรมราชโองการของพระเจ8า

                    สูรยวรมันที่ 1 ที่ทรงรับสั่งให8นักบวชนิกายต$าง ๆ ในเมืองละโว8บำเพ็ญตบะถวายเปWนพระราชกุศล

                    หากผู8ใดฝòาฝôนก็จะถูกลงโทษตามกฎหมาย โดยศาลสูงในปNจจุบันเหลือสภาพเพียงส$วนฐานของ
                    ปราสาทซ8อนชั้น (ศาสนบรรพต ?) ก$อด8วยก8อนศิลาแลงขนาดใหญ$ (ใหญ$กว$าก8อนศิลาแลงสมัย

                    อยุธยา) ซึ่งอาจสะท8อนนัยยะของพระราชอำนาจแห$งกษัตริย^เขมร ขณะที่เมืองละโว8นี้เคยเปWนเมือง

                    สำคัญในวัฒนธรรมทวารวดีมาก$อน การขยายอำนาจเข8ามาของพระเจ8าสูรยวรมันที่ 1 จึงเปWนเหตุผล
                    หนึ่งที่นำไปสู$การล$มสลายของวัฒนธรรมทวารวดีในช$วงพุทธศตวรรษที่ 16 (หม$อมเจ8าสุภัทรดิศ

                    ดิศกุล, 2539 ข: 9 ; มาดแลน จิโต, 2543: 49 - 50 ; สฤษดิ์พงศ^ ขุนทรง, 2558: 261 - 263)


                           2.3.2)  รัชกาลพระเจ1าอุทัยทิตยวรมันที่ 2
                           ภายหลังจากการสิ้นพระชนม^ของพระเจ8าสูรยวรมันที่ 1 (พระนามหลังสิ้นพระชนม^คือ

                    บรมนิรวาณบท) อาณาจักรกัมพูชาก็เกิดกบฏขึ้นหลายครั้งในรัชกาลของพระเจ8าอุทัยทิตยวรมันที่ 2

                    (ครองราชย^ พ.ศ. 1593 - 1609) พระองค^ทรงอุปถัมภ^สายตระกูลของพราหมณ^ที่ทำพิธีประดิษฐาน
                    เทวราชโดยให8เหล$าพราหมณ^พำนักอยู$ที่บริเวณเมืองที่ปราสาทสดûกกûอกธม อ.โคกสูง จ.สระแก8ว

                    ขณะที่บริเวณเมืองพระนครก็มีการก$อสร8างปราสาทบาปวนขึ้นเปWนศูนย^กลางของอาณาจักร

                    โดยจารึก K.136 (stele de Lovek) กล$าวว$า “พระองคBจึงโปรดให&สร&าง....เขาทองขึ้นกลางราชธานี
                    ของพระองคB บนยอดเขาทองนี้ภายในปราสาทซึ่งสร&างด&วยทองคำอันเปลQงประกายดุจสรวงสวรรคB

                    พระองคBได&สร&างศิวลึงคBทองขึ้น” (มาดแลน จิโต, 2543: 54) และได8มีการก$อสร8างปราสาทแม$บุญ






                                                            26
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38