Page 50 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 50
ใน พ.ศ. 1424 พระเจCาอินทรวรมันที่ 1 ทรงสถาปนาปราสาทบากองขึ้นเพื่อประดิษฐาน
เทวราช ศาสนบรรพตฐานเปkนชั้นหลังนี้ตั้งอยูDทางทิศตะวันออกเฉียงใตCของปราสาทพระโค แผนผัง
ของปราสาทบากองมีความซับซCอน ดCานบนสุดมีปราสาทประธานหนึ่งหลัง (สรCางขึ้นใหมDในชDวง
พุทธศตวรรษที่ 17) รอบฐานปราสาทมีปราสาทอิฐบริวาร 8 หลังตั้งอยูDโดยมีปราสาทอิฐ 2 หลังใน
แตDละดCาน กลุDมอาคารทั้งหมดนี้มีคูน้ำรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสลCอมรอบ 2 ชั้นและปราสาทประธานตั้งอยูDที่
จุดศูนย.กลางของพื้นที่ (ดูภาพที่ 3 ในบทนี้) นDาสังเกตวDาคูน้ำชั้นในนั้นขุดลงไปในระดับลึกกวDาคูน้ำ
ชั้นนอก คือขุดลึกไปจนถึงระดับน้ำใตCดินเพื่อประโยชน.ในการเก็บกักน้ำไวCใชC (สำหรับประกอบ
พิธีกรรมตDาง ๆ ของเทวาลัย) โดยเฉพาะในชDวงฤดูแลCง (Groslier, 2007: 151 ; Kummu, 2009:
1416) และจากการศึกษาเครือขDายคูคลองของเมืองหริหราลัยพบวDาคูน้ำของปราสาทบากองนี้มีแนว
คูที่เชื่อมตDอไปยังปราสาทพระโคและคูที่เชื่อมไปยังบารายใหญDที่ตั้งอยูDทางทิศเหนือดCวย (Groslier,
2007: 151)
บารายประจำเมืองหริหราลัยมีชื่อวDา “อินทรตฏากะ” กDอขึ้นในสมัยพระเจCาอินทรวรมันที่ 1
(อินทรตฏากะ แปลวDา สระน้ำศักดิ์สิทธิ์ของพระอินทร. คือพระเจCาอินทรวรมันที่ 1) บารายนี้วางตัว
ตามแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตก มีความกวCาง 700 เมตร ยาว 3.8 กิโลเมตร แนวคันดินสูง
ประมาณ 3 เมตร และสามารถกักเก็บน้ำไดCราว 10 ลCานลูกบาศก.เมตร โดยรับน้ำจากแมDน้ำโรลัวะ
ที่ไหล (มาจากพนมกุเลน) ผDานบารายและตัวเมืองทางทิศตะวันออก (Groslier, 2007: 150 - 151 ;
Dagens, 2003: 51) เกือบกึ่งกลางของบารายมีปราสาทโลเลย (Lolei) ตั้งอยูDซึ่งสรCางขึ้นเมื่อ พ.ศ.
1436 ในรัชกาลพระเจCายโศวรมันที่ 1 ภายหลังจากการสรCางบารายในรัชกาลกDอนหนCา (ภาพที่ 23)
43