Page 83 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 83
บทที่ 3
องค*ความรู0เรื่องวัฒนธรรมเขมรโบราณ
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสานเป8นดินแดนอันกว<างใหญ?และอุดมสมบูรณF เพราะมี
แม?น้ำโขง แม?น้ำมูล และแม?น้ำชีไหลผ?าน เปรียบดั่งเส<นเลือดสายใหญ?ที่หล?อเลี้ยงชีวิตผู<คนที่ผูกพัน
กับการทำนาและการทำประมงน้ำจืด และมีเกลือสินเธาวFเป8นทรัพยFในดินอันจำเป8นต?อการดำรงชีวิต
ตั้งแต?อดีตจนถึงปUจจุบัน ทำให<มีผู<คนเข<ามาอยู?อาศัยในภูมิภาคนี้นับตั้งแต?ยุคก?อนประวัติศาสตรF
ก?อนจะพัฒนาเข<าสู?ยุคประวัติศาสตรFซึ่งปรากฏหลักฐานที่เกี่ยวข<องกับทั้งวัฒนธรรมทวารวดี
วัฒนธรรมเขมรในช?วงประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 - 18 และวัฒนธรรมล<านช<าง (ลาว) ในช?วงเวลา
หลังจากนั้น
ในบทนี้จะกล?าวถึงลักษณะทางภูมิศาสตรFของภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีความสัมพันธFกับ
การเลือกตั้งถิ่นฐานบ<านเรือนของคนโบราณ และนำเสนอถึงผลการศึกษาที่ผ?านมาเกี่ยวกับชุมชน
และเมืองโบราณยุคประวัติศาสตรFในวัฒนธรรมทวารวดีและวัฒนธรรมเขมร รวมทั้งการศึกษาเรื่อง
วัฒนธรรมเขมรสมัยบาปวนด<วย
3.1) สภาพภูมิศาสตร*ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีลักษณะภูมิประเทศเป8นที่ราบสูงและลาดต่ำไปทางทิศตะวันออก
เฉียงใต< เพราะมีการยกตัวของแผ?นดินด<านตะวันตกและด<านใต< ทางตะวันตกมีทิวเขาเพชรบูรณFและ
ทิวเขาดงพญาเย็นเป8นแนวกั้นระหว?างภาคอีสานกับภาคเหนือและภาคกลาง ทางใต<มีทิวเขา
สันกำแพงกั้นระหว?างภาคอีสานกับภาคตะวันออก และมีเทือกเขาพนมดงรักกั้นพรมแดนระหว?าง
ที่ราบสูงโคราชกับที่ราบต่ำเขมรคือประเทศกัมพูชา (ภาพที่ 56)
ตามแนวเทือกเขาพนมดงรักนี้มีช?องเขาตามธรรมชาติหลายช?องเขาที่ผู<คนทั้งสองพื้นที่คือ
ไทยและกัมพูชาสามารถไปมาหาสู?กันได<นับตั้งแต?อดีตจนถึงปUจจุบัน เช?น ช?องตะโก จ.บุรีรัมยF
ช?องตาเมือนและช?องจอม จ.สุรินทรF ช?องสงำ จ.ศรีสะเกษ เป8นต<น โดยในแผนที่การสำรวจปราสาท
เขมรของเอเตียง เอโมนิเยรF (Étienne Aymonier) เมื่อร<อยกว?าปoก?อน ได<แสดงตำแหน?งช?องเขา
ต?าง ๆ ไว< (ภาพที่ 57) และบางช?องเขาก็มีปราสาทเขมรสมัยบาปวนอยู?ด<วย คือ ปราสาทตาเมือนธม
อ.พนมดงรัก จ.สุรินทรF ซึ่งเป8นปราสาทขนาดใหญ? (พบจารึกมีศักราชตรงกับ พ.ศ. 1563) และใน
สมัยบายนช?วงพุทธศตวรรษที่ 18 ก็มีการสร<างปราสาทตาเมือนโตrจ (อาโรคยศาลา) และปราสาท
ตาเมือน (บ<านมีไฟ) อยู?ในบริเวณใกล<เคียงกัน ช?องเขาจึงเป8นอีกปUจจัยธรรมชาติ (natural factor)
ที่เกี่ยวข<องโดยตรงกับการแพร?หลายเข<ามาของวัฒนธรรมเขมรโบราณในเขตภาคอีสาน
76