Page 90 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 90
3.1.4) ลักษณะดิน
สำนักสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมทรัพยากรธรณี รายงานว'าในภาคอีสานมี
ลักษณะดินต'างกันมากถึง 44 ชุดดิน (http://www.ldd.go.th/thaisoils_museum/knownlg/
series_NE.htm) ตัวอย'างเช'น
1) ชุดดินพิมาย (Pm)
เป]นดินเหนียว อาจพบกUอนเหล็กปะปนอยู' เป]นดินที่เกิดจากตะกอนน้ำพามาทับถมอยู'บน
ที่ราบน้ำท'วมถึง มีการระบายน้ำเลว มีน้ำท'วมขังในฤดูฝน พบแพร'กระจายอยู'ตามที่ราบลุ'มของ
ภาคอีสาน โดยใชUประโยชนTในการทำนา และหากมีโครงการชลประทานที่ดีจะเป]นแหล'งปลูกขUาว
ที่สำคัญ
2) ชุดดินทุ'งสัมฤทธิ์ (Tsr)
เป]นดินเหนียวจัด เกิดจากตะกอนน้ำพามาทับถามอยู'บนที่ราบน้ำท'วมถึง (คลUายชุดดิน
พิมาย) มีการระบายน้ำเลว ใชUประโยชนTในการทำนา แต'เป]นดินเค็ม บางบริเวณจึงมีคราบเกลือบน
ผิวดิน พบกระจายในเขตที่ราบลุ'มของภาคอีสาน
3) ชุดดินท'าตูม (Tt)
ดินบนเป]นดินร'วนปนทรายหรือดินร'วน ดินล'างเป]นดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย
เกิดจากตะกอนน้ำพามาทับถมอยู'บนที่ราบตะกอนน้ำพา มีการระบายน้ำค'อนขUางเลวถึงเลว
พบแพร'กระจายในภาคอีสาน ใชUประโยชนTในการปลูกขUาวทั้งนาหว'านและนาดำ แต'มีความอุดม
สมบูรณTต่ำ จึงอาจเกิดขาดแคลนน้ำในฤดูทำนาไดU ดังนั้นควรจัดหาแหล'งน้ำเพื่อใชUในการเกษตร
ใหUเพียงพอ
4) ชุดดินรUอยเอ็ด (Re)
ชั้นดินตอนบนเป]นดินร'วนปนทรายหรือดินทรายปนดินร'วน ชั้นดินล'างเป]นดินร'วนเหนียวปน
ทรายหรือดินร'วนปนทราย เกิดจากตะกอนของหินตะกอน เนื้อหยาบชะมาทับถมกัน มีการระบายน้ำ
ค'อนขUางเลว พบแพร'กระจายในภาคอีสาน ใชUประโยชนTในการทำนาหรือปลูกพืชไร'หรือผักในฤดูแลUง
แต'เนื้อดินค'อนขUางเป]นทราย มีความอุดมสมบูรณTค'อนขUางต่ำ เสี่ยงต'อการขาดน้ำในฤดูเพาะปลูก
5) ชุดดินกุลารUองไหU (Ki)
ชั้นดินตอนบนเป]นดินร'วนปนทราย ตอนล'างเป]นดินร'วนหรือดินร'วนเหนียวปนทราย เป]นดิน
ที่เกิดจากตะกอนน้ำพามาทับถมอยู'บนที่ราบตะกอนน้ำพา มีการระบายน้ำเลว ใชUประโยชนTในการ
ทำนา แต'เป]นดินเค็ม ในฤดูแลUงจึงมีคราบเกลือลอยที่หนUาผิวดิน พบกระจายอยู'ทางใตUของภูมิภาค
จะเห็นไดUว'า ดินในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความเหมาะสมต'อการปลูกขUาว แต'ก็มัก
เป]นดินร'วนปนทราย ซึ่งหากฝนทิ้งช'วงหรือปริมาณน้ำในแหล'งน้ำธรรมชาติมีไม'มากพอก็จะเกิด
ปhญหาขาดแคลนน้ำไวUใชUในการเกษตรหรือการอุปโภคบริโภคไดU เพราะแหล'งน้ำท'าที่มีมากในฤดูฝน
83