Page 91 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 91

ก็จะเหือดแหUงไปเกือบหมดในฤดูแลUง วิธีแกUปhญหาก็คือ การจัดหาแหล'งน้ำใหUเพียงพอซึ่งเป]นวิธีที่

                    ผูUคนในวัฒนธรรมเขมรโบราณทราบกันดี เห็นไดUจากการสรUางตระพังและบาราย ดังปรากฏอยู'ทั่วไป

                    โดยเฉพาะในเขตแอ'งโคราช ปhญหาสำคัญอีกประการหนึ่งของดินในภาคอีสานก็คือดินเค็ม อันเป]น
                    ผลมาจากโครงสรUางทางธรณีวิทยาของภูมิภาคนี้



                           3.1.5)  น้ำบาดาลและเกลือ
                           การเกิดดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป]นผลมาจากลักษณะทางธรณีวิทยาที่มี

                    เกลือสะสมในชั้นดินและมีชั้นของเกลือหิน (rock salt หรือเฮไลตT - Halite) แทรกอยู' (ในหมวดหิน
                    มหาสารคามและสะสมอยู'ทั้งสองแอ'งของภาคอีสาน) ซึ่งสัมพันธTกับการไหลเวียนของน้ำบาดาล

                    โดยน้ำบาดาลจะละลายเกลือจนกลายเป]นชั้นน้ำเค็มและแพร'กระจายไปสู'บริเวณต'าง ๆ ตามระบบ

                    น้ำบาดาล บริเวณที่ระดับชั้นน้ำเค็มอยู'ใกลUผิวดิน เมื่อไดUรับความรUอนจากแสงอาทิตยT น้ำก็จะระเหย
                    เหลือเพียงเกลือจนเกิดเป]นคราบสีขาวบนพื้นผิวดิน น้ำเค็มใตUดินก็จะไหลมาทดแทนอยู'ตลอดเวลา

                    แลUวก็เกิดการระเหยเป]นวัฏจักร ทำใหUมีปริมาณเกลือสะสมในเนื้อดินมากขึ้นเรื่อย ๆ จนกลายเป]น
                    ดินเค็ม บริเวณที่พบดินเค็มมักอยู'ตามที่ลุ'มโดยพบในแอ'งโคราชมากกว'าแอ'งสกลนคร ส'วนจังหวัดที่

                    ไม'พบดินเค็มเลย ไดUแก' หนองบัวลำภู มุกดาหาร และเลย (ขวัญใจ ยวงเดชกลUา, 2550: 1 - 3)

                           ขวัญใจ ยวงเดชกลUา ซึ่งจัดทำรายงานเรื่อง “ความสัมพันธ+ของน้ำบาดาลกับดินเค็มในภาค
                    ตะวันออกเฉียงเหนือ” เสนอต'อกรมทรัพยากรธรณี ระบุว'า การสรUางอ'างเก็บน้ำก็เป]นสาเหตุหนึ่ง

                    ของปhญหาดินเค็ม เพราะหากมีการสรUางอ'างเก็บน้ำในพื้นที่ที่มีดินเค็ม ก็จะก'อใหUเกิดการยกตัวของ

                    ระดับน้ำบาดาลซึ่งเป]นน้ำเค็มใหUขึ้นมาอยู'ใกลUกับผิวดินมากขึ้น เกลือที่สะสมอยู'ก็จะละลายขึ้นมาบน
                    ผิวดินในช'วงฤดูแลUง (ขวัญใจ ยวงเดชกลUา, 2550: 16) ขวัญใจไดUเสนอแนวทางแกUไขปhญหาไวUดUวย

                    เช'น การปลูกพันธุTขUาวที่สามารถทนความเค็ม การปลูกตUนไมUเพื่อลดระดับน้ำใตUดิน การสรUางแหล'ง

                    น้ำจืดบนผิวดินเพื่อสรUางแรงดันกดไม'ใหUน้ำเค็มขึ้นมา หรือการระบายน้ำผิวดินและน้ำใตUดินโดย
                    การขุดคูคลอง เป]นตUน (ขวัญใจ ยวงเดชกลUา, 2550: 30 - 31)

                           จากแผนที่ทรัพยากรแร'ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของกรมทรัพยากรธรณีแสดงใหUเห็น
                    การแพร'กระจายของเกลือหินในหลายพื้นที่ (ภาพที่ 60 - 62) ไดUแก'

                           1) เขตลุ'มน้ำชีและลุ'มน้ำมูล เช'น อ.บUานไผ' อ.พล จ.ขอนแก'น อ.โนนสูง อ.พิมาย อ.ประทาย
                    อ.บัวใหญ' จ.นครราชสีมา อ.พุทไธสง อ.สตึก จ.บุรีรัมยT

                           2) เขตทุ'งกุลารUองไหU เช'น อ.ชุมพลบุรี อ.ท'าตูม อ.รัตนบุรี จ.สุรินทรT อ.เกษตรวิสัย

                    อ.สุวรรณภูมิ อ.โพนทราย จ.รUอยเอ็ด อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี
                           3) แอ'งสกลนคร คือบริเวณหลายอำเภอทางตอนเหนือของ จ.สกลนคร








                                                            84
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96