Page 296 - BDMS AWARDS 2024
P. 296

5. การศึึกษาข�อมูลั/เอกส่ารที�เกี�ยุวัข�อง (Literature review)




                   หลังจากที่่�ระบัุปััญหาที่างที่่มีผู้้�วิจัยได�รวบัรวมีข�อมี้ลจากการที่บัที่วนวรรณ์กรรมีเพ่�อนำามีาปัระยุกติ์และพัฒนา
            นวัติกรรมีเคร่�องติอบัสันองการลงนำ�าหนัก Steptify ที่่�จะมีาเปั็นติัวติ�นแบับัที่่�นำามีาใช�ในการฝึึกลงนำ�าหนักโดยที่่�มีุ่ง
            เน�นนวัติกรรมีที่่�จะช่วยแก�ปััญหาติ่างๆ ที่่�เกิดขึ�นจากการฝึึกเดินลงนำ�าหนักปักติิ จากการรวบัรวมีข�อมี้ลในงานของ
            Drăgulinescu et al. ระบัุว่าปััจจุบัันมี่อุปักรณ์์ติรวจจับัการเปัล่�ยนแปัลงนำ�าหนักที่่�เที่�า สัามีารถึแบั่งปัระเภที่ของอุปักรณ์์
            ติามีร้ปัแบับัในการสัวมีใสั่ได�เปั็นสัองชนิด ค่อ ร้ปัแบับัที่่�เปั็นถึุงเที่�า (Smart sock) และ แผู้่นรองเที่�า  (In-shoe system)  [1]
            งานวิจัยหลายชิ�นช่�ให�เห็นถึึงศัักยภาพของอุปักรณ์์ Biofeedback ในการนำามีาใช�ฝึึกลงนำ�าหนัก ให�ผู้ลด่กว่าการใช�วิธุ์่การ
                        [2]
            สัอนด�วยวาจา   ติัวอย่างเช่นงานวิจัยของ Jagtenberg et al. ที่่�ที่ดสัอบัเปัร่ยบัเที่่ยบัอุปักรณ์์ Biofeedback Device
            ชนิดน่�ที่่�มี่การนำามีาใช�ในการฝึึกผู้้�ปั่วยที่่�มี่กระด้กหักของระยางค์ขา ซึ่ึ�งผู้ลวิจัยแสัดงให�เห็นว่าอุปักรณ์์ Biofeedback
            ช่วยให�ผู้้�ปั่วยที่ำาติามีคำาแนะนำาในการลงนำ�าหนักได�ด่ขึ�น  [3]


                   สัิ�งที่่�เปั็นคำาถึามีค่อหากเราจะออกแบับัอุปักรณ์์ Biofeedback device ที่่�จะนำามีาใช�เพ่�อฝึึกเดินลงนำ�าหนักในผู้้�ปั่วย
            ให�ได�ปัระสัิที่ธุ์ิภาพและติอบัโจที่ย์ผู้้�ใช�งานนั�นจำาเปั็นติ�องมี่ปััจจัยใดบั�างในการออกแบับั ซึ่ึ�งพบัว่างานของ van Lieshout
            et al. ที่่�ได�ที่ำาการเปัร่ยบัเที่่ยบัอุปักรณ์์ Biofeed back device ที่่�มี่ลักษัณ์ะเปั็นแผู้่นรองเที่�า ได�วิเคราะห์การนำาอุปักรณ์์
            ดังกล่าวไปัใช�งานจริงในมีุมีมีองของนักกายภาพบัำาบััดและผู้้�ใช�งานอุปักรณ์์  [4]  ซึ่ึ�งอุปักรณ์์ติอบัโจที่ย์นั�นมี่คุณ์สัมีบััติิ
            ดังน่�
                   1. อุปักรณ์์ที่่�พัฒนาจะ ติ�องมี่ความีง่ายในการสัวมีใสั่แก่ที่ั�งนักกายภาพและผู้้�ปั่วย
                   2. มี่ขนาดที่่�กระที่ัดรัด จะติ�องเปั็นชิ�นเด่ยว ไมี่มี่ชิ�นสั่วนแยกออกมีาเพ่�อไปัติิดที่่�บัริเวณ์อ่�นของระยางค์ขา
                   3. สัามีารถึให�สััญญาแจ�งเติ่อน เปั็นเสั่ยง แจ�งเติ่อน หร่อการ สัั�น ซึ่ึ�งจะติ�อง ออกแบับัให�ผู้้�ใช�ไมี่ร้�สัึกรำาคาญเวลา
            ใช�ในการฝึึก สัำาหรับัการสัั�น การศัึกษัาของ Fu et al. พบัว่า Feedback ที่่�เปั็นการสัั�นสัามีารถึเพิ�มีปัระสัิที่ธุ์ภาพการลง
            นำ�าหนักในผู้้�ปั่วยหลังผู้่าติัดได�ด่  [5]
                   4. มี่การบัันที่ึกค่าและ แสัดงผู้ลการเดินลง นำ�าหนักย�อนหลังได� จะที่ำาให�มี่ข�อมี้ลไปั ปัรับัปัรุงการเดินของ ผู้้�ปั่วย
            ให�มี่ปัระสัิที่ธุ์ิภาพมีากขึ�น
                   อย่างไรก็ติามีผู้้�ปั่วยที่่�มี่การบัาดเจ็บัรยางค์ขาสั่วนล่างบัางรายที่่�มีาฝึึกเดินลงนำ�าหนักนั�นก็มี่การสัวมีใสั่เฝึ้อก
            ด�วย ซึ่ึ�งเปั็นข�อจำากัดที่่�อุปักรณ์์ Biofeedback ที่่�มี่อย้่ในปััจจุบััน ที่ั�งแบับัที่่�เปั็นถึุงเที่�าและแผู้่นรองเที่�า ที่่�ไมี่สัามีารถึปัรับั
            ขนาดให�เหมีาะสัมีได� นอกจากน่�เร่�องความีสัะอาดก็มี่ความีสัำาคัญโดยเฉพาะถึุงเที่�า สั่วนใหญ่อุปักรณ์์ที่่�เปั็นถึุงเที่�าจะมี่การ
            ติิด Sensor และสัายไฟื้ไปักับัผู้�าเลยและไมี่สัามีารถึถึอดออกได� ที่ำาให�ไมี่สัามีารถึนำาไปัที่ำาความีสัะอาดได� [1] ปััญหาเหล่าน่�
            จึงเปั็นแนวที่างในการพัฒนานวัติกรรมีให�เหมีาะสัมีติ่อไปั
                   อุปักรณ์์ติรวจจับันำ�าหนักฝึ่าเที่�านั�นมี่การพัฒนามีาหลายปัี จากงานของ Abdul Razak et al. พบัว่ามี่หลาก
            หลายงานที่่�ออกแบับัอุปักรณ์์เพ่�อติรวจจับั Foot plantar pressure ซึ่ึ�งพบัว่ามี่การใช�งาน Sensor เพ่�อติรวจจับัที่่�หลาก
            หลาย ยกติัวอย่างเช่น  Capacitive sensors, Resistive sensors, Piezoelectric sensors, Piezoresistive sensors
            และ MEMS pressure  sensors ซึ่ึ�ง MEMS Pressure sensor พบัว่ามี่ข�อด่กว่าทีุ่กร้ปัแบับัที่่�กล่าวมีาในเร่�องของขนาด
            ที่่�เล็กกว่ามีาก และมี่ความีแมี่นยำามีากกว่า  [6]




            1. Drăgulinescu, Andrei, et al. “Smart Socks and In-Shoe Systems: State-of-The-Art for Two Popular Technologies for Foot Motion
            Analysis, Sports, and Medical Applications.” Sensors, vol. 20, no. 15, 2 Aug. 2020, p. 4316, https://doi.org/10.3390/s20154316.


            2. Hustedt, Joshua William,. (2013). Effect Of Biofeedback Devices In Partial Weight-Bearing Orthopaedic Patients. Yale Medicine
            Thesis Digital Library, 1801.


            3. Jagtenberg, E. M., Kalmet, P. H., Krom, M. A., Blokhuis, T. J., Seelen, H. A. M., & Poeze, M. (2020). Feasibility and validity of ambulant
            biofeedback devices to improve weight-bearing compliance in trauma patients with lower extremity fractures: A narrative
            review. Journal of Rehabilitation Medicine, 52(8), jrm00092. https://doi.org/10.2340/16501977-2721





        296        2024 BEST PRACTICE INNOVATION PROJECTS
   291   292   293   294   295   296   297   298   299   300   301