Page 138 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 138

โดยการสอดส องมองหา (Look) เยี่ยมบ านและค นหาคนที่ต องการความช วยเหลือเร งด วน
       เช น ผู ที่โศกเศร าเสียใจรุนแรง ร องไห  ทุกข ใจ เหม อลอย กินไม ได  นอนไม หลับ ใส ใจ

       รับฟ ง (Listen) รับฟ งอย างตั้งใจ สังเกตท าทาง น้ำเสียง ให การช วยเหลือเบื้องต น

       ตามสภาพป ญหาและความจำเป น และส งต อ (Link) ข อมูลเพื่อการช วยเหลือทั้งอาหาร
       ยารักษาโรค ตามความจำเป น หากผู ประสบภาวะวิกฤติควบคุมอารมณ ไม ได  มีอารมณ

       เศร ารุนแรง มีความคิด อยากฆ าตัวตาย ประสานติดตามติดต อครอบครัวและเจ าหน าที่

       โรงพยาบาลส งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อประสานการพามาพบแพทย ทำการบำบัดรักษา

       ในโรงพยาบาลระยองและรายงานผลการปฏิบัติงานตามขั้นตอน



       กระบวนการทำงาน

             1. ระยะเตรียมการ ติดตามข อมูลสถานการณ ด านความปลอดภัยจากสารเคมีกับ

       พยาบาลกลุ มงานอาชีวเวชกรรม ประสานงานโรงพยาบาลส งเสริมสุขภาพตำบลตะพง
       และโรงพยาบาลส งเสริมสุขภาพตำบลเพ ในการวางแผนลงชุมชนและกลุ มเป าหมาย

       ที่ได รับผลกระทบ เช น กลุ มประมงเรือเล็ก กลุ มผู ค าขายอาหารตามชายทะเล ฯลฯ

       ประสานบุคลากรอื่นในทีม เตรียมเครื่องมือ เอกสาร ยา และวัสดุอุปกรณ อื่น ๆ ที่จำเป น
       ก อนวางแผนออกปฏิบัติงาน

             2. ระยะวิกฤติและฉุกเฉิน

             2.1 ระยะวิกฤติ (72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ) ประสานโรงพยาบาลส งเสริมสุขภาพ

       ทั้ง 2 แห งในการประเมินสุขภาพจิตของประชาชนผ าน Application line ใช งานผ าน

       QR Code ประเมินสุขภาพใจ (Mental health check - in)
             2.2 ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห ) ออกประเมินสุขภาพจิตหลังจากเกิด

       เหตุการณ  ! สัปดาห  โดยคัดกรองและค นหากลุ มเสี่ยง โดยใช แบบประเมินความเครียด (ST-5)



                                       {126}
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143