Page 139 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 139

แบบคัดกรองประเมินภาวะซึมเศร าและเสี่ยงต อการฆ าตัวตาย (2Q, 9Q, 8Q) และ

         ประเมินสุขภาพจิตผ าน Application line ใช งานผ าน QR Code ประเมินสุขภาพใจ

         (Mental health check - in) กรณีพบความเสี่ยงต อการเกิดป ญหาสุขภาพจิตได ให

         คำปรึกษารายบุคคลและให คำปรึกษาทางโทรศัพท  ติดตามดูแลต อเนื่องภายหลัง
         2 สัปดาห  เมื่อพบกลุ มเสี่ยงต อการทำร ายตนเองหรือมีความยุ งยากซับซ อนได ให

         การช วยเหลือเบื้องต นและประสานส งต อไปยังโรงพยาบาลและติดตามดูแลอย าง

         ต อเนื่อง

               3. ระยะหลังได รับผลกระทบ (2 สัปดาห  - 3 เดือน) ติดตามการรักษาและดูแล
         อย างต อเนื่อง ให สุขภาพจิตศึกษาและส งต อเครือข ายในชุมชน

               4. ระยะฟ  นฟู (หลังเกิดเหตุการณ  3 เดือนขึ้นไป) ติดตามการรักษาและดูแล

         อย างต อเนื่อง ให สุขภาพจิตศึกษาและส งต อเครือข ายในชุมชน



         ผลการดำเนินการ

               เก็บข อมูลจากการสัมภาษณ บริเวณชายหาดหาดแม รำพึงถึงก นอ าว ระหว างวันที่

         30 มกราคม 2565 ถึง วันที่ 2 กุมภาพันธ  2565
               ผลการประเมินและคัดกรองด านสุขภาพจิตแก ประชาชน ผู ประสบภาวะวิกฤติและ

         บุคลากรที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ จำนวน 149 คน ประเมินผู ประสบภาวะวิกฤติและ

         ประชาชนทั่วไปจำนวน 137 คน คิดเป นร อยละ 91.95 และบุคลากรที่ปฏิบัติงานในพื้นที่

         จำนวน 12 คน คิดเป นร อยละ 8.05 พบผู มีความเครียดสูง จำนวน 13 คน คิดเป น
         ร อยละ 8.72 ผู มีความเสี่ยงต อภาวะซึมเศร า จำนวน 15 คน คิดเป นร อยละ 10.06 และ

         ผู มีความเสี่ยงต อการทำร ายตนเอง จำนวน 8 คน คิดเป นร อยละ 5.36 ผู ที่มีความเครียดสูง

         จำนวน 13 คน ได รับคำปรึกษาทางโทรศัพท และติดตามครบ 2 สัปดาห  จำนวน 13 คน



                                       {127}
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144