Page 144 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 144

ณ จุดบริการใกล จุดเกิดเหตุ โดยทีมเจ าหน าที่ห องปฏิบัติการพิษวิทยา โรงพยาบาล

       ระยองเป นผู จัดเตรียมอุปกรณ  จัดทำแนวทางการเก็บตัวอย าง และประสานการ

       ส งตรวจต อไปยังห องปฏิบัติการภายนอก เนื่องจากทางโรงพยาบาลระยองยังไม เป ด

       บริการตรวจ Biomarker บางชนิด ได แก  S-Phenylmercapturic acid (S-PMA)
       และ 1-Hydroxypyrine (PAHs) ซึ่งห องปฏิบัติการภายนอกที่รับส งต อต องผ านการ

       รับรองมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย  (Laboratory accreditation) โดยสภาเทคนิค

       การแพทย  หรือผ านการรับรองมาตรฐาน ISO 15189
             ในครั้งนี้มีการบริหารจัดการและประสานการเก็บตัวอย างเองโดยเจ าหน าที่

       ความปลอดภัยของสถานประกอบการได แก  บริษัท IRPC ที่ส งพนักงานเข าช วยเหลือ

       เก็บกู น้ำมันดิบกลางทะเล ต องดำเนินการเก็บป สสาวะก อนเข าปฏิบัติงานตามแนวทาง

       ของ บริษัท SPRC ที่เกิดเหตุน้ำมันดิบรั่วไหล จึงสนับสนุนแนวทางการเก็บตัวอย าง

       ที่ถูกต องผ านการประสานงานของทีม SRRT - C โรงพยาบาลระยอง ข อควรปฏิบัติในการ
       เก็บป สสาวะเพื่อตรวจสารเคมี ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

       ข อควรปฏิบัติในการเก็บป สสาวะเพื่อตรวจสารเคมี สำหรับเจ าหน าที่

             1. การเตรียม - แจกอุปกรณ สำหรับเก็บป สสาวะ
             1) ติด Sticker ชื่อ-นามสกุล ผู เข ารับบริการบนหลอดสำหรับเก็บป สสาวะ (ไม ควร

       ใช ปากกาหมึกซึม หรือปากกาเมจิกเขียนชื่อ-สกุล เนื่องจากตัวหนังสืออาจเลือนหาย

       เมื่อโดนความชื้น) คนละ 2 หลอด

             2) สอบถามชื่อ-นามสกุล ผู เข ารับบริการกับหลอดเก็บป สสาวะให ตรงกันอีกครั้ง

       ก อนแจกผู มารับบริการ
             3) แจกหลอดเก็บป สสาวะพร อมแก วพลาสติกสำหรับรองป สสาวะ 1 ใบ/คน

             4) ก อนแจกควรหมุนฝาหลอดทุกหลอดให สนิทก อนทุกครั้ง



                                       {132}
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149