Page 147 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 147

โอกาสพัฒนาและข้อเสนอแนะ
               อย างไรก็ตามพบว ามีสิ่งที่ควรพัฒนาเพื่อให สามารถตอบสนองต อป ญหาสุขภาพ

         ได อย างเหมาะสมทันเวลาดังนี้

               1. ระบบการจัดซื้อจัดจ างในสถานการณ ฉุกเฉินตามระเบียบพัสดุฯ มีความล าช า
         ทำให ไม สามารถสั่งซื้อของได ทันในสถานการณ เร งด วนที่เกิดขึ้นหากปริมาณสิ่งส งตรวจ

         มีมากเกินกว าอุปกรณ ที่สำรองไว ล วงหน า

               2. การประสานงานระหว างหน วยงานควรมีการกำหนดตัวบุคคลสำหรับประสานงาน

         หรือมีอำนาจตัดสินใจโดยตรงของแต ละหน วยงาน และมีช องทางการสื่อสารร วมกัน
         เพื่อให การทำงานร วมกันระหว างหน วยงานมีความเข าใจตรงกัน ไม ทำงานซ้ำซ อนและ

         ปฏิบัติงานได อย างรวดเร็ว ลดความผิดพลาด

               3. การสื่อสารข อมูลเกณฑ และโปรแกรมการตรวจสุขภาพระหว างทีมสอบสวนโรค

         และทีมตรวจทางห องปฏิบัติการ ไม ครบถ วน ในกรณีการส งตรวจ S-Phenylmercapturic
         acid (S-PMA) เพื่อยืนยันการสัมผัสสารเบนซีน โดยกำหนดเกณฑ ส งตรวจทุกรายที่มี

         ตรวจพบ trans, trans-muconic acid ในป สสาวะ ซึ่งต างจากกรณีเฝ าระวังสุขภาพ

         ชุมชนรอบเขตอุตสาหกรรมที่ผ านมาจะส งตรวจ S-PMA เฉพาะในรายที่ผล trans,

         trans-muconic acid ในป สสาวะสูงเกินค าอ างอิงตาม ACGIH คือ 500 ug/g creatinine
         เท านั้น ทำให เกิดผลกระทบกับการจัดการสิ่งส งตรวจ

               4. การจัดสรรเจ าหน าที่ห องปฏิบัติการเพื่อออกปฏิบัติงานนอกสถานที่ในเหตุฉุกเฉิน

         ค อนข างยาก เนื่องจากเจ าหน าที่แต ละคนจะมีการปฏิบัติงานนอกเวลาตามตารางงาน

         ที่จัดไว ล วงหน าแล ว








                                       {135}
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152