Page 49 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 49

2.1 วัตถุประสงค ของการดำเนินงาน

             1) เพื่อเป นข อมูลระดับการรับสัมผัสสารเคมีในกลุ มผู ปฏิบัติงาน นำไปสู การจัดทำ

       การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพจากการทำงาน (Health Risk Assessment: HRA)

             2) เพื่อเป นข อมูลที่สามารถเชื่อมโยงกับข อมูลการเฝ าระวังสุขภาพ นำไปสู การ
       เฝ าระวังสุขภาพที่ครอบคลุมมากขึ้น

       2.2 ขั้นตอนการดำเนินงาน

             2.2.1 การชี้บ งหรือระบุอันตราย (Hazard Identification) คือ การระบุ

       รวบรวมว า สิ่งใดหรือภาวะใดเป นป จจัยอันตรายในสภาพแวดล อมการทำงาน ด วยการ
       รวบรวมข อมูลต าง ๆ ที่เกี่ยวข อง รวมถึงการวิเคราะห กระบวนการทำงานและสิ่งคุกคาม

       สุขภาพ จากการเดินสำรวจ การสังเกต การสัมภาษณ ผู ปฏิบัติงาน จากข อมูลความ

       ปลอดภัยสารเคมีของน้ำมันดิบที่รั่วไหลพบเป นน้ำมันดิบชนิด Light Crude Oil ซึ่ง

       น้ำมันดิบชนิดเบา เป นไฮโดรคาร บอนที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่งมีความถ วงจำเพาะต่ำ
       ความหนืดต่ำ มีองค ประกอบส วนใหญ เป นสารกลุ มไฮโดรคาร บอน รวมทั้งสารกำมะถัน

       และโลหะหนักในปริมาณต่ำ นำเข ามาจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส  โดยกระบวนการทำงาน

       เพื่อเก็บกู คราบน้ำมันดิบจากเหตุการณ ครั้งนี้ สามารถแบ งออกได เป น 2 ส วนหลัก ๆ

       คือ งานเก็บกู คราบน้ำมันดิบในทะเล (Offshore oil spill response) ได แก  Spray
       Dispersant, Diving, Boat Surveillance, Skimmer และงานเก็บกู คราบน้ำมันดิบ

       ณ พื้นที่ชายหาด (Shoreline clean up) ทั้งนี้เนื่องจากติดข อจำกัดบางประการ จึงไม

       สามารถทำการประเมินการรับสัมผัสในกลุ มเก็บกู คราบน้ำมันดิบในทะเล ดังนั้น

       การศึกษานี้จึงมุ งเน นในกลุ มผู เก็บกู น้ำมันดิบ ณ บริเวณพื้นที่ชายหาดเป นหลัก โดยสามารถ
       แบ งลักษณะงาน ได แก  1) งานเก็บกู คราบน้ำมันดิบด วยวิธี Vacuum Truck 2) การเก็บกู

       คราบน้ำมันดิบด วยวิธี Use of sorbent boom 3) งานวาง Boom Deployment



                                       {037}
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54