Page 52 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 52

(พนักงานของบริษัทเอกชน) แบ งออกเป น 2 กะ (เช า-ดึก) 2 ทีม/กะ ทีมละ 20-30 คน

       ทำงาน 2 ชั่วโมง และรอให วัสดุดูดซับคราบน้ำมันดิบประมาณ 2 ชั่วโมง โดยลักษณะงาน

       ใช กระดาษและวางซีบูม (Sea Boom) ซับคราบน้ำมันดิบ จากนั้นจะรอให กระดาษและ

       ซีบูมดูดซับคราบน้ำมันดิบจนเต็ม ประมาณ 2 ชั่วโมง แล วพนักงานจำนวนประมาณ
       10–15 คน จะเก็บกระดาษและซีบูมที่ดูดซับคราบน้ำมันดิบจนเต็มที่ใส ถุงพลาสติกสีแดง

       เพื่อส งไปกำจัด รูปแบบการทำงานแบ งออกเป น 2 กะ (เช า-ดึก) จำนวน 1 ทีม/กะ

       ทีมละประมาณ 20-30 คน การสวมอุปกรณ ป องกันอันตรายส วนบุคคล บางส วนสวมชุด

       ป องกันสารเคมีระดับ C บางส วนสวมชุดกันสารเคมีระดับ D บางส วนไม ได สวมชุดกัน
       สารเคมีใด ๆ สวมเพียงหน ากาก R-95 และถุงมือกันสารเคมีชนิดไนไตร รองเท าบูทกัน

       สารเคมี สำหรับความเสี่ยงสุขภาพที่สำคัญ คือ การรับสัมผัสสารเคมีในน้ำมันดิบ ป ญหา

       ด านการยศาสตร  ความร อนในการทำงาน และอุบัติเหตุจากการทำงาน เช นเดียวกับ

       กลุ มแรก
             3) งานสนับสนุนทางการแพทย  ดำเนินการอยู ในบริเวณจุดบัญชาการเหตุการณ

       ลักษณะพื้นที่ ไม พบคราบน้ำมันดิบ

       ไม มีกลิ่นน้ำมันดิบ แต มีผู เก็บกู คราบ

       น้ำมันดิบมาคัดกรองสุขภาพหนาแน น
       ในพื้นที่จำนวนผู ปฏิบัติงานประมาณ

       20–30 คน ทั้งหมดเป นบุคลากรทาง

       การแพทย  ทำงาน 1 กะ นาน 5-6 ชั่วโมง

       ต อวัน ลักษณะงาน ดำเนินการคัดกรอง เจาะเลือด และเก็บตัวอย างป สสาวะ เพื่อเฝ า
       ระวังสุขภาพ แบ งเป นงานคัดกรองสุขภาพด วยแบบสอบถาม การเจาะเลือด และเก็บ

       ป สสาวะเพื่อส งตรวจ อุปกรณ ป องกันอันตรายส วนบุคคล ไม มีอุปกรณ ป องกันสารเคมี



                                       {040}
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57