Page 117 - ทวารวดี ประตูสู่การค้าบนเส้นทางสายไหมทางทะเล
P. 117
ปาร์เถียน (พ.ศ. 296–767) เมื่อ พ.ศ. 428 หรือ 438 สมัยจักรพรรดิฮั่นหวู่ตี้จีนส่ง
ผ้าไหมไปให้เปอร์เซีย พระเจ้ามิธราเดทส์ที่ 2 (Mithradates II) ของปาร์เถียนก็ส่ง
นักกายกรรมและไข่นกกระจอกเทศไปยังราชส านักจีน ดูใน Tucker, The Silk
Road: Art and History, 283. ส่วนโรมันอยู่ในช่วงท้ายของการปกครองในระบอบ
สาธารณรัฐ (Roman Republic) ก่อนจะเข้าสู่การปกครองแบบจักรวรรดิ (Roman
Empire) ในรัชกาลจักรพรรดิออกุสตุส (พ.ศ. 516–557) อันเป็นจุดเริ่มต้นของยุค
สมัยที่เรียกว่า “Pax Romanna” หรือ “สันติสุขแห่งโรมัน” คือช่วงเวลาที่การขยาย
อ านาจของโรมันเป็นไปอย่างกว้างขวาง พร้อมๆ กับความเจริญทางเศรษฐกิจ
การค้าที่โรมันสามารถควบคุมน่านน ้าทะเลเมดิเตอร์เรเนียนได้ทั้งหมด
8
Gungwu, “The Nanhai Trade: a study of the early history of
Chinese trade in the South China sea,” Journal of the Malayan Branch
Royal Asiatic Society: 13.
9
ชาวจีนฮั่นผสมกับชาวเยว่กลายเป็นคนจีนฮกเกี้ยน ส่วนชาวเยว่ก็
เป็นบรรพบุรุษของชาวเวียดในประเทศเวียดนาม ดูใน Keith Weller Taylor, The
Birth of Vietnam (California: University of California Press, 1983), 41-44.
10
Gungwu, “The Nanhai Trade: a study of the early history of
Chinese trade in the South China sea,” Journal of the Malayan Branch
Royal Asiatic Society: 15 ; Li Qingxin, Maritime Silk Road, translated by
William W. Wang (China: China Intercontinental Press, 2009), 23–26.
11
Gungwu, “The Nanhai Trade: a study of the early history of
Chinese trade in the South China sea,” Journal of the Malayan Branch
Royal Asiatic Society: 19–20 ; Qingxin, Maritime Silk Road, 25 ; Paul
Wheatley, The Golden Khersonese, reprinted of the 1961 ed. (Kualar
Lumpur: University of Malaya Press, 1973), chapter 1 ; Kishor K. Basa,
“Early trade in the Indian Ocean: Perspective on Indo-Southeast Asian
Maritime Contact,” in Maritime Heritage of India, ed. by K.S. Behera (New
Delhi: Aryan Books International, 1999), 46.
106