Page 21 - 30 Potential Technologies จัดทำโดย สมาคมหน่วยเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตร์ไทย
P. 21
16
โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
เซรั มนํ ายางพาราทางการแพทย์
ความโดดเด่นของผลงานวิจัย/เทคโนโลยี
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารยาชีวภาพ/(ชีวเภสัชภัณฑ์)
จากเซรั มนํ ายางพารา ซึ งจากการทดสอบกับอาสา
สมัครพบว่า ช่วยลดการขยายมะเร็งที เป นก้อนและ
ลดขนาดของก้อนมะเร็งได้ และในส่วนของมะเร็งเม็ดสี
หรือมะเร็งผิวหนัง สามารถยับยั งและทําให้เม็ดสีลดได้
เช่นกัน สารสําคัญที พบจากเซรั มนํ ายางพารา ได้แก่
Hb extracts, β-Glucan Oligosaccharides
(BGOs), Hevea Latex Oligosaccharides (HLOs),
Hevea Latex Polysaccharides (HLPs),
Quebrachitol ฯลฯ ซึ งเป นสารตั งต้นสําหรับ
“สารโภชนเภสัชต้านมะเร็ง” ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
เป าหมายหลัก: การส่งเสริมการใช้งานและเพิ มมูลค่ายางพารา ซึ งเป นวัตถุดิบในประเทศ และ
การวิจัยและพัฒนาสารที ผลิตได้ในรูปแบบอาหารใหม่ (Novel food) แบบที มีการกล่าวอ้าง
ทางสุขภาพ (Health claim) และพัฒนาไปสู่ยาใหม่ (Investigational New Drug)
สอดคล้องกับ SDG Goal: สุขภาพและความเป นอยู่ดี, ลดความเหลื อมลํ า
สาขาเทคโนโลยี: Biotechnology
ระดับความใหม่ของเทคโนโลยี : เคยมีมาก่อนแล้วในโลกนี แต่ผลงานวิจัย/เทคโนโลยีที พัฒนาขึ น
มีคุณภาพดี/สูงกว่า
Final Product: สารตั งต้นสําหรับผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
ผู้ใช้งาน/อุตสาหกรรมเป าหมาย
กลุ่มอุตสาหกรรมทางการแพทย์และเภสัชกรรม
กลุ่มโรงงาน/OEM ผลิตอาหารเสริมเพื อสุขภาพ
IP Protection
ข้อมูลนักวิจัย
ผศ.ดร.ภก.ฐณะวัฒน์ พิทักษ์พรปรีชา
คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Email: thanawat.p@psu.ac.th