Page 19 - 30 Potential Technologies จัดทำโดย สมาคมหน่วยเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตร์ไทย
P. 19
14
โครงการพัฒนาตัวดูดซับตะกั วจากนํ าทิ ง
ด้วยฟ ล์มคอมโพสิตเพคติน/สาหร่ายชีวมวล
ความโดดเด่นของผลงานวิจัย/เทคโนโลยี
การเพาะเลี ยงจุลสาหร่าย (Microalgae)
ด้วยถังปฏิกรณ์ชีวภาพที มีขนาดใหญ่ ส่งผลให้ได้
จุลสาหร่ายจํานวนมาก หลังจากทําการสกัดแยกสาร
ผลิตภัณฑ์ เช่น แคโรทีนอยด์ และไลป ดออกจากเซลล์
จุลสาหร่าย (Cell disruption) เศษซากสาหร่าย
ที เกิดขึ นจํานวนมากเหล่านี สามารถนํามาดัดแปรเป น
สารดูดซับได้ เนื องจากเซลล์สาหร่ายเป นวัสดุธรรมชาติ
มีราคาถูก มีความเป นพิษน้อย จากการศึกษาการนําจุลสาหร่ายมาใช้เป นสารดูดซับโลหะหนัก เช่น
ตะกั ว จุลสาหร่ายที ดูดซับโลหะแล้ว สามารถนํามาย่อยสลายเซลล์เพื อนํากลับโลหะหนักที ดูดซับไว้
ได้ด้วย จึงเป นวิธีการหนึ งที เหมาะสมในการนํามากําจัดตะกั ว นอกจากนั น ภายใต้โครงการนี
ยังทําการศึกษาสารเพคตินที สกัดจากเปลือกแตงโม ซึ งเป นวัสดุที มีประสิทธิภาพสูงในการดูดซับ
โลหะหนัก เช่น ตะกั ว และแคดเมียม ซึ งสารเพคตินนั นสามารถนํามาขึ นรูปเป นแผ่นฟ ล์มได้ ดังนั น
การพัฒนาสารดูดซับ (Adsorbate) ที มีองค์ประกอบเป นเซลล์สาหร่ายและสารเพคตินทําให้ได้
ตัวดูดซับใหม่ (Novel adsorbent) ที มีประสิทธิภาพสูงขึ นกว่าเดิม
เป าหมายหลัก: ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของฟ ล์มคอมโพสิตเพคติน/สาหร่ายชีวมวลเเละ
หาสภาวะที เหมาะสมในการดูดซับตะกั วจากนํ าเสียด้วยฟ ล์มคอมโพสิตจากเพคติน/สาหร่ายชีวมวล
สอดคล้องกับ SDG Goal: สุขภาพและความเป นอยู่ดี, นํ าสะอาดและสุขาภิบาล, พลังงานสะอาด
ในราคาที ซื อได้, อุตสาหกรรม นวัตกรรมและโครงสร้างพื นฐาน
สาขาเทคโนโลยี: Biotechnology
ระดับความใหม่ของเทคโนโลยี : เคยมีมาก่อนแล้วในโลกนี แต่ผลงานวิจัย/เทคโนโลยีที พัฒนาขึ น
มีคุณภาพดี/สูงกว่า
Final Product: ตัวดูดซับ (Adsorbent) ในการดูดซับสารโลหะหนักจากนํ าเสียหรือนํ าที มาจาก
แหล่งนํ าตามธรรมชาติทั วไป
ผู้ใช้งาน/อุตสาหกรรมเป าหมาย
กลุ่มอุตสาหกรรมหนักที มีการปล่อยสารพิษลงแหล่งนํ า
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
IP Protection ข้อมูลนักวิจัย
รศ.ดร.จักรกฤษณ์ อัมพุช
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
Email: chakkrit.u@ubu.ac.th