Page 14 - 30 Potential Technologies จัดทำโดย สมาคมหน่วยเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตร์ไทย
P. 14
09 โครงการ BioCircuit ระบบวงจร
ไฟฟ าชีวภาพสําหรับบําบัดนํ าเสีย
ชนิดรุนแรง
ความโดดเด่นของผลงานวิจัย/เทคโนโลยี
เทคโนโลยี Microbial fuel cell ที อาศัยเทคนิค
BioElectrochem ในการบําบัดนํ าเสียมลพิษรุนแรง
โดยใช้จุลินทรีย์ผลิตอิเลคตรอนจากการย่อยสาร
อินทรีย์ในนํ าเสียและนําไปใช้ต่อในการทําปฏิกิริยา
ทางเคมีไฟฟ า จัดการเปลี ยนสารอนินทรีย์ที เป นพิษ
ที ละลายนํ าให้อยู่ในรูปของแข็งหรือแก๊สที ไม่เป นพิษ
แยกออกจากนํ าได้ง่าย จึงทําให้สามารถบําบัดมลพิษ
ในนํ าเสียที บําบัดได้ยากให้สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้
ด้วยค่าไฟที ตํ าลงกว่า 97% ลดการปลดปล่อยแก๊ส
เรือนกระจก และเป นมิตรกับสิ งแวดล้อม
เป าหมายหลัก: มุ่งเน้นการลดมลพิษในแหล่งนํ าที ทําให้ห่วงโซ่อาหารมนุษย์ไม่ปลอดภัย คุณภาพ
ชีวิตชุมชนตกตํ า เร่งการเกิดวิกฤตโลกร้อนและภาวะขาดแคลนนํ า
สอดคล้องกับ SDG Goal: สุขภาพและความเป นอยู่ดี, การศึกษาคุณภาพ, นํ าสะอาดและ
สุขาภิบาล, อาชีพและการเติบโตทางเศรษฐกิจที ดี, อุตสาหกรรม นวัตกรรมและโครงสร้างพื นฐาน,
ลดความเหลื อมลํ า, นครและชุมชนยั งยืน, การบริโภคและการผลิตอย่างรับผิดชอบ, การร่วมมือ
กันเพื อเป าหมาย
สาขาเทคโนโลยี: Biotechnology
ระดับความใหม่ของเทคโนโลยี : เป นเทคโนโลยีขั นสูง เคยมีมาก่อนแล้วในโลกนี แต่ผลงานวิจัย/
เทคโนโลยีที พัฒนาขึ นมีคุณภาพดี/สูงกว่า
Final Product: BioCircuit ระบบวงจรไฟฟ าชีวภาพสําหรับบําบัดนํ าเสียชนิดรุนแรง
ผู้ใช้งาน/อุตสาหกรรมเป าหมาย
บริษัทกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม
หน่วยงานภาครัฐที รับผิดชอบเกี ยวกับคุณภาพชีวิตของคน อาทิ อบต. อบจ. พัทยา
กรุงเทพฯ เป นต้น
IP Protection
ข้อมูลนักวิจัย
ผศ.ดร.ชลทิศา สุขเกษม
คณะอุตสาหกรรมเกษตรและชีวภาพ
มหาวิทยาลัยทักษิณ
Email: chontisa.s@gmail.com