Page 9 - 30 Potential Technologies จัดทำโดย สมาคมหน่วยเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตร์ไทย
P. 9
04
โครงการวิจัยแก้วแบตเตอรี
ความโดดเด่นของผลงานวิจัย/เทคโนโลยี
การใช้เทคนิคการทดลองแสงซินโครตรอน
ในการวิเคราะห์โครงสร้างในระดับอะตอมของวัสดุ
แก้วแบตเตอรี ซึ งแก้วมีโครงสร้างแบบไม่เป นระเบียบ
และมีคุณสมบัติถ่ายโอนประจุไฟฟ าได้ แก้วยังมีข้อดี
คือ ราคาถูก ทนต่อการกัดกร่อนในสภาวะกรด ด่าง
ได้ดี จึงเป นข้อได้เปรียบ อีกทั งทนความร้อนได้ดี และ
สืบเนื องจากการระเบิดของแบตเตอรี ที เกิดจากใช้วัสดุ
ทําขั วเป นผลึกและสารละลายเป นของเหลวอิเล็กโตไลท์
การนําแก้วมาใช้เป นวัสดุแทน จะช่วยตอบโจทย์ได้
เป นอย่างดี
"ใช้วัสดุแก้วมาทําเป นขั วไฟฟ าและประกอบเป นแบตเตอรี
ชนิดของแข็ง ALL SOLID-STATE BATTERYS"
เป าหมายหลัก: เพื อแก้ไขป ญหาเรื องความปลอดภัยของการใช้งานแบตเตอรี ให้มีค่าความจุ
เพิ มขึ น มีขนาดเล็กลง ราคาถูกลง
สอดคล้องกับ SDG Goal: พลังงานสะอาดในราคาที ซื อได้
สาขาเทคโนโลยี: Nanotechnology, Engineering
ระดับความใหม่ของเทคโนโลยี : เป นเทคโนโลยีขั นสูงที ยังไม่มีในประเทศไทย
(Modular Innovation)
Final Product: แบตเตอรี ชนิดของแข็งจากวัสดุแก้ว
ผู้ใช้งาน/อุตสาหกรรมเป าหมาย
กลุ่มอุตสาหกรรมแบตเตอรี
ประชาชนทั วไป
IP Protection
ข้อมูลนักวิจัย
ดร.พินิจ กิจขุนทด
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน
Email: pinit@slri.or.th