Page 7 - 30 Potential Technologies จัดทำโดย สมาคมหน่วยเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตร์ไทย
P. 7
โครงการเพิ มศักยภาพการย่อยสลาย 02
มูลสัตว์ด้วยอุณหภูมิสูงและพัฒนา
ระบบต้นแบบการให้ความร้อนแก่
ระบบหมักไร้อากาศในฟาร์มสุกร
ความโดดเด่นของผลงานวิจัย/เทคโนโลยี
การปรับปรุงประสิทธิภาพย่อยสลายสารอินทรีย์และ
ก๊าซชีวภาพมีเทนในระดับอุตสาหกรรม (Full scale)
ด้วยวิธีการติดตั งระบบให้ความร้อน โดยใช้นํ าร้อน
ที ได้จากการแลกเปลี ยนความร้อนไอเสียและนํ าหล่อเย็น
ของเครื อง Gas engine ที เกิดขึ นขณะผลิตกระแส
ไฟฟ า ณ สถานประกอบการ (ฟาร์ม) เดียวกัน
เป นเทคโนโลยีที ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิศวกรรม
สิ งแวดล้อมและวิศวกรรมพลังงานร่วมกัน ในการ
ปรับปรุงรูปแบบการทํางานของระบบผลิตก๊าซชีวภาพ
ให้สามารถเพิ มอัตราการย่อยสลายและเพิ มผลผลิตก๊าซ
ชีวภาพโดยการใช้พลังงานความร้อนเหลือทิ งจากฟาร์ม
(Waste heat) กระทําโดยติดตั งระบบย่อยนํ าเสีย
ขั นต้น (Prehydrolysis) แบบให้ความร้อน และเพิ ม
ระบบให้ความร้อนแก่บ่อหมักไร้อากาศ
เป าหมายหลัก: มุ่งเน้นการเพิ มอัตราการย่อยสลายและศักยภาพการผลิตก๊าซชีวภาพของฟาร์ม
สุกรโดยการใช้ความร้อนจาก Heat waste
สอดคล้องกับ SDG Goal: พลังงานสะอาดในราคาที ซื อได้, อุตสาหกรรม นวัตกรรมและ
โครงสร้างพื นฐาน
สาขาเทคโนโลยี: Environmental Engineering
ระดับความใหม่ของเทคโนโลยี : เคยมีมาก่อนแล้วในโลกนี แต่ผลงานวิจัย/เทคโนโลยีที พัฒนาขึ น
มีคุณภาพดี/สูงกว่า
การนําไปใช้ประโยชน์: การนําพลังงานความร้อนเหลือทิ งไปใช้ประโยชน์เพิ มอัตราการย่อยสลาย
และผลผลิตก๊าซชีวภาพให้กับอุตสาหกรรม ไปผลิตกระแสไฟฟ าใช้ภายในอุตสาหกรรมและขายให้
กับหน่วยงานภาครัฐ
ข้อมูลนักวิจัย
ผู้ใช้งาน/อุตสาหกรรมเป าหมาย
ศ.ดร.สุเมธ ไชยประพัทธ์ และคณะ
ฟาร์มปศุสัตว์ที มีระบบผลิตก๊าซชีวภาพ สถาบันวิจัยระบบพลังงาน
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Email: sumate.ch@psu.ac.th