Page 11 - 30 Potential Technologies จัดทำโดย สมาคมหน่วยเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตร์ไทย
P. 11
06
การผลิตยางธรรมชาติเทอร์โมพลาสติก
อิลาสโตเมอร์ (Thermoplastic Elastomer)
ความโดดเด่นของผลงานวิจัย/เทคโนโลยี
การผลิตวัสดุเทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์
จากยางพาราที มีคุณสมบัติเด่นทั งการขึ นรูปง่าย
เหมือนพลาสติกและมีความยืดหยุ่นและคงทนของยาง
ยางเทอร์โมพลาสติก หรือ TPE นั น สามารถขึ นรูป
ได้เหมือนพลาสติก มีคุณสมบัติที ยืดหยุ่นอ่อนนุ่ม
คล้ายยาง แต่ยางเทอร์โมพลาสติกจะมีคุณสมบัติ
เหมือนยางเฉพาะในอุณหภูมิบางช่วง เมื ออุณหภูมิ
สูงขึ น ยางเทอร์โมพลาสติกจะอ่อนตัวและไหลได้
เหมือนพลาสติก จึงสามารถนําไปขึ นรูปด้วยเครื องฉีด
เครื องเป า เครื องเอ็กทรูดเดอร์ ได้ง่าย ภายหลัง
การขึ นรูปเมื อยางเย็นลง ยางเทอร์โมพลาสติกจะ
"เพิ มมูลค่ายางพารา เปลี ยนสภาพจากของเหลวที ไหลได้ไปเป นของแข็ง
สู่ความยั งยืนทางเศรษฐกิจ" ที มีสมบัติคล้ายยาง และสามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้
เป าหมายหลัก: เพื อลดป ญหาสิ งแวดล้อม (ขยะพลาสติก)
สอดคล้องกับ SDG Goal: ขจัดความยากจน, อาชีพและการเติบโตทางเศรษฐกิจที ดี,
อุตสาหกรรม นวัตกรรมและโครงสร้างพื นฐาน, นครและชุมชนยั งยืน, การใช้ทรัพยากร
ในมหาสมุทรอย่างยั งยืน
สาขาเทคโนโลยี: วิศวกรรมเคมี, เทคโนโลยียาง, เทคโนโลยีวัสดุ
ระดับความมีใหม่ของเทคโนโลยี : เคยมีมาก่อนแล้วในโลกนี แต่ผลงานวิจัย/เทคโนโลยี
ที พัฒนาขึ นมีคุณภาพดี/สูงกว่า
Final Product: สามารถพัฒนาไปได้หลากหลายผลิตภัณฑ์ เช่น ฟ ลาเมนท์ยางธรรมชาติ
เทอร์โมพลาสติกสําหรับการพิมพ์ระบบสามมิติ, เส้นวัสดุจักสานยางธรรมชาติเทอร์โมพลาสติก,
วัตถุดิบยางธรรมชาติรูปแบบเม็ด สําหรับการผลิตในระบบต่อเนื อง (ระบบอัตโนมัติ), ซั งเทียม
ยางธรรมชาติเทอร์โมพลาสติก สําหรับสร้างแหล่งอนุบาลสัตว์นํ าในทะเล, ยางธรรมชาติ
เทอร์โมพลาสติกนําไฟฟ า เป นต้น
ผู้ใช้งาน/อุตสาหกรรมเป าหมาย
กลุ่มอุตสาหกรรมยางพารา
กลุ่มอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ ข้อมูลนักวิจัย
กลุ่มอุตสาหกรรมหนังเทียม ดร.ณัฐพนธ์ อุทัยพันธุ์
วิทยาลัยนานาชาติ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
IP Protection
Email: nattapon.u@psu.ac.th