Page 12 - 30 Potential Technologies จัดทำโดย สมาคมหน่วยเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตร์ไทย
P. 12
07 โครงการเทคโนโลยีรีไซเคิลขยะ
โซล่าเซลล์สู่อุตสาหกรรมแบตเตอรี
Fast-charge
ความโดดเด่นของผลงานวิจัย/เทคโนโลยี
วัสดุซิลิกอนจากกระบวนการรีไซเคิลแผงโซล่าเซลล์
ให้กลายเป นอนุภาคซิลิกอนขนาดต่าง ๆ ได้
(Multiple sized silicon) ซึ งสามารถนําไปประยุกต์
ใช้งานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ มากมาย เช่น (1) ซิลิ
กอนเกรดโลหกรรมในระดับไมโครเมตร เหมาะสําหรับ
อุตสาหกรรมหล่อโลหะผสม และ
ชิ นส่วนยานยนต์ไฟฟ าที ต้องการความแข็งแรงและ
นํ าหนักเบา ซึ งมีความบริสุทธิ สูงกว่าในตลาด
(2) ซิลิกอนเกรดแบตเตอรี ในระดับนาโนเมตร เหมาะ
สําหรับการนําไปเป นส่วนประกอบสําหรับ
เป าหมายหลัก: มุ่งเน้นการแก้ไขป ญหา
ขั วไฟฟ าในเซลล์แบตเตอรี ลิเทียมไอออนที ถูกใช้
อุตสาหกรรมการรีไซเคิลขยะโซล่าเซลล์
รวมถึงพัฒนาวัสดุซิลิกอนแบตเตอรี ที ในยานยนต์ไฟฟ า และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ชนิดต่าง ๆ ซึ งจะมีมูลค่าสูงกว่าวัสดุซิลิกอน
สามารถกักพลังงานได้สูงขึ นและมีความ
เกรดโลหกรรมในระดับไมโครเมตร
ปลอดภัย
สอดคล้องกับ SDG Goal: สุขภาพและความเป นอยู่ดี, พลังงานสะอาดในราคาที ซื อได้,
อุตสาหกรรม นวัตกรรมและโครงสร้างพื นฐาน
สาขาเทคโนโลยี: Nanotechnology, Materials Science, and Engineering
ระดับความใหม่ของเทคโนโลยี : เป นเทคโนโลยีขั นสูง เคยมีมาก่อนแล้วในโลกนี
แต่ผลงานวิจัย/เทคโนโลยีที พัฒนาขึ นมีคุณภาพดี/สูงกว่า
Final Product: ซิลิกอนเกรดแบตเตอรี สําหรับการนําไปทําเป นขั วไฟฟ าในเซลล์แบตเตอรี
ลิเทียมไอออนที ถูกใช้ในยานยนต์ไฟฟ า, ซิลิกอนเกรดโลหกรรมในระดับไมโครเมตร
เหมาะสําหรับอุตสาหกรรมหล่อโลหะผสม และชิ นส่วนยานยนต์ไฟฟ า เป นต้น
ผู้ใช้งาน/อุตสาหกรรมเป าหมาย
อุตสาหกรรมการผลิตแบตเตอรี เซลล์
อุตสาหกรรมยานยนต์
ข้อมูลนักวิจัย
รศ.ดร.นงลักษณ์ มีทอง/
นายยุทธนากร คณะพันธ์
โรงงานแบตเตอรี และพลังงานยุคใหม่
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Email: nonmee@kku.ac.th