Page 27 - 30 Potential Technologies จัดทำโดย สมาคมหน่วยเพาะธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตร์ไทย
P. 27
22
โครงการพัฒนาระบบตรวจและวิเคราะห์
คุณภาพนํ าทะเลด้วยทุ่นอัจฉริยะ
สําหรับการเพาะเลี ยงกุ้ง
ความโดดเด่นของผลงานวิจัย/เทคโนโลยี
การพัฒนาระบบตรวจและวิเคราะห์คุณภาพนํ าทะเลด้วย
การออกแบบวงจรไฟฟ า และการพัฒนาบอร์ด PCB ที
สามารถเคลื อนย้ายตําแหน่งที ต้องการติดตั งได้ง่าย
มีความความถูกต้องในการอ่านคุณภาพนํ ามากกว่า
ร้อยละ 90 มีความยืดหยุ่นในการเลือกใช้เซนเซอร์ตาม
ที ผู้ใช้งานต้องการ เพื อลดค่าใช้จ่าย อีกทั งยังสามารถ
ติดตามค่าคุณภาพนํ าตลอดเวลา โดยใช้แอพพลิเคชั น
ที ถูกพัฒนาขึ นให้สามารถใช้งานผ่านสมาร์ทโฟน ทําให้
ตรวจสอบได้ง่าย หากเซนเซอร์ทํางานผิดปกติ หรือเกิด
การชํารุดเสียหาย
เป าหมายหลัก: ลดโอกาสในการตายของกุ้งลง เนื องจากป ญหาโรคระบาดที เกิดจากนํ าในบ่อ
เพาะเลี ยงไม่สะอาด
สอดคล้องกับ SDG Goal: ขจัดความยากจน, สุขภาพและความเป นอยู่ดี, นํ าสะอาดและ
สุขาภิบาล อาชีพและการเติบโตทางเศรษฐกิจที ดี
สาขาเทคโนโลยี: Electrical Engineering and Information technology
ระดับความใหม่ของเทคโนโลยี : เคยมีมาก่อนแล้วในโลกนี แต่ผลงานวิจัย/เทคโนโลยีที พัฒนาขึ น
มีคุณภาพดี/สูงกว่า
Final Product: ระบบตรวจและวิเคราะห์คุณภาพนํ าทะเลด้วยทุ่นอัจฉริยะสําหรับการเพาะเลี ยงกุ้ง
ผู้ใช้งาน/อุตสาหกรรมเป าหมาย
กลุ่มเกษตรกรผู้เลี ยงกุ้ง
IP Protection
ข้อมูลนักวิจัย
รศ.ดร.นรรัตน์ วัฒนมงคล
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา
Email: norrarat@eng.buu.ac.th