Page 435 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 435
และเย�วชนที่ศ�ลมีคำ�พิพ�กษ�หรือคำ�สั่ง ให้รับก�รฝึกและอบรม เพื่อให้เด็กและเย�วชน
ส�ม�รถกลับตนเป็นคนดีและใช้ชีวิตในสังคมได้อย่�งปกติสุขโดยคำ�นึงถึงคว�มเท่�เทียมกัน
และศักดิ์ศรีคว�มเป็นมนุษย์ ซึ่งก�รดำ�เนินก�รต�มภ�รกิจดังกล่�ว จำ�เป็นต้องให้ก�รดูแล
เด็กและเย�วชนทั้งด้�นสุขภ�พอน�มัย สภ�พแวดล้อม ปัจจัยสี่ ให้ก�รบำ�บัด ฟื้นฟู พัฒน�
เด็กและเย�วชนให้ครบทุกด้�น ได้แก่ ด้�นสุขภ�พก�ย สุขภ�พจิต ทักษะชีวิต ด้�นก�ร
ศึกษ� ทั้งส�ยส�มัญ วิช�ชีพ โดยเน้นให้เด็กและเย�วชน เข้�ม�มีส่วนร่วม เพื่อให้เด็กและ
เย�วชนแต่ละคนได้รับก�รแก้ไขและพัฒน�อย่�งเหม�ะสมต�มสภ�พปัญห� และปัจจัย
แวดล้อมที่แตกต่�งกัน อีกทั้งเตรียมคว�มพร้อมสำ�หรับเด็กและเย�วชนในก�รออกไป
เผชิญปัญห�กับสภ�พแวดล้อมภ�ยนอกได้อย่�งเหม�ะสม เพื่อก�รใช้ชีวิตที่ปกติและ
สร้�งสรรค์ ตลอดจนก�รติดต�มผลภ�ยหลังกลับไปอยู่กับครอบครัวและสังคม นอกจ�กนี้
ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กฯ หญิงบ้�นปร�นียังมีภ�รกิจในก�รดำ�เนินก�รเชิงรุกเพื่อป้องกัน
ปัญห�ก�รกระทำ�คว�มผิดของเด็กและเย�วชนร่วมกับชุมชน
ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเย�วชนหญิงบ้�นปร�นี ได้เห็นถึงคว�มสำ�คัญของ
ก�รส่งเสริมสุขภ�วะสำ�หรับเด็กและเย�วชน ก�รพัฒน�องค์คว�มรู้ด้�นสุขภ�วะแบบองค์
รวม ในเรื่องโภชน�ก�ร ก�รออกกำ�ลังก�ย ก�รจัดก�รคว�มเครียด และก�รแก้ไข
พฤติกรรมเสี่ยงจ�กก�รสูบบุหรี่และดื่มสุร� เพื่อให้เด็กและเย�วชนเกิดก�รปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม มีสุขภ�พที่ดีขึ้น ซึ่งสิ่งดังกล่�วข้�งต้นสะท้อนให้เห็นถึงก�รดำ�เนินชีวิตอย่�งมี
คุณภ�พของบุคคล มีภูมิคุ้มกันท�งจิตใจที่เข้มแข็ง ซึ่งห�กได้รับก�รพัฒน�ที่เหม�ะสมจะ
ทำ�ให้เด็กและเย�วชนมีคว�มพร้อมและส�ม�รถจัดก�รกับคว�มรู้สึกทั้งท�งบวกหรือท�ง
ลบและสอดคล้องกับคว�มต้องก�รและคว�มสำ�เร็จต�มเป้�หม�ยของเย�วชนได้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้เด็กและเย�วชนมีสุขภ�พร่�งก�ยที่ดีต�มวัย
2. เพื่อให้เด็กและเย�วชนมีสัดส่วนร่�งก�ยลดลงอย่�งเหม�ะสม
3. เพื่อให้เด็กและเย�วชนมีพื้นที่ปลอดภัยในก�รระบ�ยอ�รมณ์และนำ�ไปสู่ก�ร
จัดก�รอ�รมณ์อย่�งเหม�ะสม
4. เพื่อให้เด็กและเย�วชนมีท�งเลือกในก�รเลิกบุหรี่และตระหนักในสภ�พ
แวดล้อมปลอดบุหรี่
434 พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research