Page 82 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 82
ก�รกินอยู่ที่ไม่ดีต่อสุขภ�พ ก�รเสพติดส�รเสพติด หรือสื่อออนไลน์ (สำ�นักง�น
กองทุนสนับสนุนก�รสร้�งเสริมสุขภ�พ, 2563) รวมถึงพฤติกรรมก�รสูบบุหรี่และ
ดื่มสุร�ด้วย โดยเฉพ�ะพฤติกรรมก�รสูบบุหรี่ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นม�
พบวัยรุ่นไทยอ�ยุตำ่�กว่� 19 ปี เสพติดบุหรี่จำ�นวน 375,900 คน สูบเป็นครั้งคร�ว
จำ�นวน 78,000 คน อ�ยุที่เริ่มทดลองสูบ คือ 13-14 ปี อ�ยุเฉลี่ยที่เสพติดบุหรี่
ของคนไทย คือ 18 ปี ในแต่ละปีมีเด็กและเย�วชนไทยเสพติดบุหรี่ใหม่ และกล�ย
เป็นผู้ที่ต้องสูบบุหรี่เป็นประจำ� จำ�นวน 200,000 – 300,000 คน ทดแทนผู้ใหญ่
ที่สูบบุหรี่ที่เสียชีวิตหรือเลิกสูบ ทำ�ให้จำ�นวนผู้สูบบุหรี่ไทยคงที่อยู่ที่ 11 ล้�นคน
(สำ�นักง�นกองทุนสนับสนุนก�รสร้�งเสริมสุขภ�พ, 2563) ปัจจุบันเด็กไทยอ�ยุตำ่�
กว่� 18 ปี เสพติดบุหรี่เกือบ 500,000 คน เด็กและเย�วชนไทยที่เสพติดบุหรี่แล้ว
โดยเฉลี่ยจะเสพติดบุหรี่ต่อไปอีกเป็นเวล� 23 ปีจึงจะส�ม�รถเลิกสูบได้ โดยส�เหตุ
ที่เลิกเพร�ะเริ่มป่วยแล้วโดยส่วนใหญ่ ทั้ง ๆ ที่กว่�ร้อยละ 70 ของผู้ใหญ่ที่เสพติดบุหรี่
ต้องก�รที่จะเลิกสูบ แต่เลิกไม่สำ�เร็จ เพร�ะอำ�น�จเสพติดที่สูงม�ก ๆ ของบุหรี่
โดยเฉลี่ยเด็กและเย�วชนไทยสูบบุหรี่วันละ 8.3 มวน ห�กคิดเป็นตัวเงินจะตกวันละ
ประม�ณ 20 บ�ท ผู้ใหญ่ที่สูบบุหรี่ ในขณะนี้คิดเป็นร้อยละ 64.7 ติดก่อนอ�ยุ 20 ปี
และร้อยละ 27.7 ติดระหว่�ง 20-24 ปี รวมแล้วร้อยละ 95.5 ของผู้เสพติดบุหรี่
ติดก่อนอ�ยุ 24 ปี ฉะนั้นห�กป้องกันเด็กและเย�วชนไม่ให้เสพติดบุหรี่ได้จนถึงอ�ยุ
25 ปี โอก�สที่เด็กและเย�วชนจะกล�ยเป็นผู้สูบบุหรี่จะมีน้อยม�ก บุหรี่เป็นย�เสพติด
ตัวแรกที่เด็กและเย�วชนติด และเป็นสื่อนำ�ไปสู่สิ่งเสพติดอื่นที่ร้�ยแรงกว่�
จ�กง�นวิจัยในหล�ย ๆ ประเทศ รวมทั้งประเทศไทยพบว่� ผู้ที่ติดสิ่งเสพติดอื่น ๆ
เช่น เหล้� เฮโรอีน ฝิ่น กัญช� หรือโคเคน เป็นต้น ล้วนแต่เริ่มจ�กก�รติดบุหรี่ก่อน
ทั้งสิ้น โดยวัยรุ่นที่ติดเหล้� ร้อยละ 62 เริ่มจ�กติดบุหรี่ก่อน วัยรุ่นที่ติดฝิ่นและกัญช�
ร้อยละ 75 เริ่มจ�กติดบุหรี่ก่อน วัยรุ่นที่ติดเฮโรอีนและโคเคน ร้อยละ 95 เริ่มจ�ก
ติดบุหรี่ก่อน เด็กและเย�วชนที่สูบบุหรี่ประจำ�ร้อยละ 83 พย�ย�มที่จะเลิกสูบ
แต่ไม่สำ�เร็จ ร้อยละ 11.6 มีคว�มต้องก�รที่จะเลิกแต่ยังไม่เคยพย�ย�มเลิก บริษัท
บุหรี่ได้บันทึกว่� “นักสูบบุหรี่ที่มีอายุน้อย คืออนาคตของธุรกิจของเรา เพราะหากไม่มี
เด็กและเยาวชนเข้ามาเสพติดบุหรี่ทดแทนผู้ที่เลิกสูบหรือเสียชีวิต ไม่นานบริษัทบุหรี่
ก็ต้องเลิกกิจการ” บุหรี่เป็นส�เหตุของพฤติกรรมที่ทำ�ให้ป่วยและเสียชีวิตอันดับที่สอง
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 81
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research