Page 87 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 87
2. พย�บ�ลวิช�ชีพและทีมสหวิช�ชีพในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเย�วชน
ที่เข้�ร่วมโครงก�รได้รับก�รพัฒน�ศักยภ�พด้�นก�รวิจัยปฏิบัติก�ร เพื่อก�รพัฒน�
คุณภ�พก�รทำ�ง�น ด้�นก�รดูแลสุขภ�วะให้กับเด็กและเย�วชนต่อไป
3. ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเย�วชนสิรินธรได้รับก�รพัฒน�ผ่�นก�รประยุกต์
ง�นประจำ�สู่ก�รทำ�ง�นวิจัย ซึ่งเป็นกระบวนก�รพัฒน�ที่เป็นที่ยอมรับในระดับส�กล
ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีการวิจัย
ทฤษฎีการรับรู้สมรรถนะในตนเอง (Self-efficacy theory) ของ
Bandura
กรอบแนวคิดก�รวิจัยประยุกต์แนวคิดของ Bandura เกี่ยวกับก�รรับรู้
สมรรถนะในตนเอง (Bandura, 1997) ที่พัฒน�ม�จ�กทฤษฎีก�รเรียนรู้ท�งปัญญ�
สังคมต�มแนวคิดของแบนดูร� โดยผสมผส�นกับก�รเรียนรู้ท�งสังคม (Social
cognitive behavior) เข้�กับคว�มรู้คว�มเข้�ใจเกี่ยวกับตนเองต�มแนวคิดพื้นฐ�น
ทฤษฎีก�รเรียนรู้ท�งปัญญ�สังคม เชื่อว่�พฤติกรรมของคนเร�ไม่ได้เกิดขึ้นและ
เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจ�กปัจจัยท�งสภ�พแวดล้อมภ�ยนอกเพียงอย่�งเดียว แต่ต้อง
มีปัจจัยภ�ยในตัวบุคคล เช่น อ�รมณ์ (affective) คว�มนึกคิด ท�งปัญญ�
(cognitive) และปัจจัยท�งชีวภ�พของบุคคล (biography) เข้�ม�ร่วมด้วย ดังนั้น
พฤติกรรมของมนุษย์จึงเกิดจ�กลักษณะโครงสร้�งที่มีคว�มเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกัน
และกัน (causal structure) จ�กแนวคิดพื้นฐ�นดังกล่�ว ทฤษฎีก�รเรียนรู้
ท�งสังคมปัญญ�ของ Bandura จึงได้เน้นแนวคิด 3 ประก�รด้วยกันคือ
1) การเรียนรู้โดยการสังเกต (Observation Learning) เป็นก�รที่บุคคล
เรียนรู้และเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมได้จ�กก�รสังเกตพฤติกรรมของตัวแบบต่�ง ๆ
ที่อยู่ในสังคม ซึ่งในโครงก�รนี้ เน้นก�รเรียนรู้จ�กพย�บ�ลและทีมสหวิช�ชีพ
ในศูนย์ฝึกและอบรมฯ รวมทั้ง เรียนรู้จ�กผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจ�กก�รกระทำ�ของตนเอง
ซึ่งเป็นประสบก�รณ์ตรงที่เด็กและเย�วชนได้ประสบเมื่อลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
ผ่�นกิจกรรมสร้�งเสริมสุขภ�วะที่ออกแบบโดยพย�บ�ลวิช�ชีพและทีมสหวิช�ชีพ
ในศูนย์ฝึกและอบรมฯ
86 พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research