Page 36 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 36

3) ภาวะเกิดภัย อำนวยการและบูรณาการประสานการปฏิบัติ ในกรณีการจัดการสาธารณภัยขนาดเล็ก
               (ระดับ 1) และขนาดกลาง (ระดับ 2) ใหกองอำนวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยกลางรับผิดชอบในการ

               อำนวยการ ประเมินสถานการณ และสนับสนุนกองอำนวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแตละระดับ
               รวมถึงติดตามและเฝาระวังสถานการณ วิเคราะหสถานการณ รวมทั้งรายงานสถานการณและแจงเตือน พรอม

               ทั้งเสนอความคิดเห็นตอผูบัญชาการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ เพื่อตัดสินใจยกระดับการจัดการ
               สาธารณภัยเปนขนาดใหญขึ้น ทั้งนี้ใหกองอำนวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง ทำหนาที่เปนสวน
               หนึ่งในศูนยประสานการปฏิบัติของกองบัญชาการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ ในกรณียกระดับ
               เปนการจัดการสาธารณภัยขนาดใหญ (ระดับ 3) และขนาดรายแรงอยางยิ่ง (ระดับ 4)

                  2.3 กองอำนวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับทองถิ่นและภูมิภาค
                      2.3.1 กองอำนวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล (กอปภ.ทน./ทม./ทต.)

                            ทำหนาที่อำนวยการ ควบคุม ปฏิบัติการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย และเผชิญเหตุเมื่อเกิด
               สาธารณภัยขึ้น พรอมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลใหสอดคลองกับ
               แผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอ รวมถึงมี

               หนาที่ชวยเหลือผูอำนวยการอำเภอและผูอำนวยการจังหวัดตามที่ไดรับมอบหมาย พรอมทั้งสนับสนุนการ
               ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งมีพื้นที่ติดตอหรือใกลเคียง หรือเขตพื้นที่อื่น
               เมื่อไดรับการรองขอ โดยมีนายกเทศมนตรี เปนผูอำนวยการ

                      2.3.2 กองอำนวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยองคการบริหารสวนตำบล (กอปภ.อบต.)
                            ทำหนาที่อำนวยการ ควบคุม ปฏิบัติการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย และเผชิญเหตุเมื่อเกิด
               สาธารณภัยขึ้น พรอมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยองคการบริหารสวนตำบล

               ใหสอดคลองกับแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
               อำเภอ รวมถึงมีหนาที่ชวยเหลือผูอำนวยการจังหวัดและผูอำนวยการอำเภอตามที่ไดรับมอบหมายพรอมทั้ง

               สนับสนุนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งมีพื้นที่ติดตอหรือใกลเคียงหรือ
               เขตพื้นที่อื่นเมื่อไดรับการรองขอ โดยมีนายกองคการบริหารสวนตำบล เปนผูอำนวยการ
                      2.3.3 กองอำนวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอ (กอปภ.อ.)

                            ทำหนาที่อำนวยการ ควบคุม สนับสนุน และประสานการปฏิบัติกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นใน
               เขตพื้นที่รับผิดชอบในการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย และปฏิบัติงานตามที่ผูวาราชการจังหวัดหรือกอง
               อำนวยการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมอบหมาย โดยมีนายอำเภอ เปนผูอำนวยการ และมีองคประกอบ

               ดังนี้
                     1) นายอำเภอ                                                ผูอำนวยการ
                     2) ปลัดอำเภอ หัวหนากลุมบริหารการปกครอง                   รองผูอำนวยการ

                     3) ผูกำกับการหัวหนาสถานีตำรวจในเขตพื้นที่                กรรมการ
                     4) ผูแทนกระทรวงกลาโหมที่ไดรับมอบหมาย                     กรรมการ

                     5) สาธารณสุขอำเภอ                                          กรรมการ
                     6) ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่              กรรมการ
                     7) ผูแทนหัวหนาสวนราชการสวนกลางในพื้นที่                กรรมการ
                     8) ผูแทนหนวยงานของรัฐที่นายอำเภอเห็นสมควรแตงตั้ง        กรรมการ



               36
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41