Page 31 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 31
ตอเชื่อมโยง (Link) ชวยเหลือตามความจำเปนพื้นฐาน เชน น้ำ อาหาร ยา หากควบคุมอารมณตนเองไมได
โศกเศรารุนแรง มีความคิดอยากฆาตัวตาย ใหสงตอเพื่อใหไดรับการรักษาจากแพทยผูเชี่ยวชาญ
สรุป ภัยพิบัติเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นโดยไมมีใครคาดคิด ซึ่งมีสาเหตุจากภัยธรรมชาติและจากการ
กระทำของมนุษย สงผลใหผูประสบภัยเกิดการสูญเสียในดานตาง ๆ ไดแก การสูญเสียบุคคลอันเปนที่รัก
ทรัพยสิน บานเรือน ไดรับบาดเจ็บทางรางกาย และเกิดความปวดรางทางจิตใจ หากไมไดรับการชวยเหลือ
อยางถูกตองและทันเวลา อาจกอใหเกิดความผิดปกติทางจิตใจตามมาภายหลัง ความผิดปกติทางจิตใจที่พบได
บอยในผูประสบภัย ไดแก ภาวะ ASD (Acute Stress Disorder) ภาวะ PTSD (Post Traumatic Stress
Disorder) ภาวะซึมเศรา (depression) (Halter, & Grao, 2014) พยาบาลที่ใหการดูแลดานจิตใจผูประสบภัย
ควรใหการพยาบาลตั้งแตระยะการเตรียมพรอมกอนเกิดสถานการณวิกฤตจากภัยพิบัติ ระยะวิกฤต (72 ชั่วโมง
แรกหลังเกิดเหตุ) ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง – 2 สัปดาห) ระยะที่ 4 : ระยะหลังไดรับผลกระทบ (2 สัปดาห – 3
เดือน) ระยะฟนฟู (หลังเกิดเหตุการณ 3 เดือนขึ้นไป) การพยาบาลที่ที่สำคัญที่ถูกนำมาใชในการดูแลดานจิตใจ
ไดแก การปฐมพยาบาลทางจิตใจเบื้องตน (Psychological First Aid) ซึ่งชวยใหผูประสบภัยฟนตัวและกลับมา
ใชชีวิตไดตามปกติได (Everly & Mitchell, 2008) ในเอกสารนี้ไดใชหลักการของ PFA : EASE (กรมสุขภาพจิต
, 2553) ซึ่งประกอบดวยการเขาถึงผูประสบภัย การประเมินผูประสบภัยอยางครอบคลุมทั้งดานรางกาย จิตใจ
และสังคม การใชทักษะในการชวยเหลือผูประสบภัยเพื่อลดความแปรปรวนทางอารมณ และสรางศักยภาพใน
การจัดการปญหา และการใหสุขภาพจิตศึกษาและขอมูลที่จำเปน ผูที่ใหการดูแลดานจิตใจแกผูประสบภัยได
เปนอยางดี จำเปนตองทบทวนความรู การฝการใชทักษะดังที่กลาวมาขางตนอยางสม่ำเสมอ รวมกับการมีเจต
คติที่ดีตอผูประสบภัย ซึ่งจะชวยใหสามารถเยียวยาจิตใจและชวยใหผูประสบภัยสามารถกลับมาใชชีวิตอยาง
ปกติไดโดยเร็ว
31