Page 26 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 26
ระยะที่ 3 : ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง – 2 สัปดาห)
ผูประสบภัยมองโลกในแงดี เพราะการชวยเหลือหลั่งไหลเขามามากมาย ทำใหผูประสบภัยเกิดกำลังใจ
วาครอบครัวและชุมชนจะสามารถฟนตัวได ดังนั้นจึงควรสำรวจความตองการชวยเหลือทั้งดานรางกายและ
จิตใจรวมกับใหการชวยเหลือเยียวยาจิตใจโดยใชการปฐมพยาบาลดานจิตใจ (Psychological First Aids)
ประเมินภาวะสุขภาพจิตโดยใชการปฐมพยาบาลดานจิตใจ (Psychological First Aids) เนนใหผู
ประสบภาวะวิกฤตระบายความรูสึกใหมากที่สุด โดยใชทักษะการตั้งใจ ฟงอยางเห็นอกเห็นใจ การใหกำลังใจ
เพื่อประเมินผูประสบภาวะวิกฤตที่มีความเสี่ยงตอปญหาสุขภาพจิต
ใหการชวยเหลือทางดานสุขภาพจิต โดยใชการปฐมพยาบาลดานจิตใจ (Psychological First Aids)
คัดกรองและคนหากลุมเสี่ยง กรณีพบความเสี่ยงตอการเกิดปญหาสุขภาพจิต ใหมีการติดตามดูแลตอเนื่อง
ภายหลัง 2 สัปดาห เพื่อประเมินภาวะสุขภาพจิต ดวยแบบประเมินความเครียด (ST5) และแบบคัดกรองภาวะ
ซึมเศราและความเสี่ยงตอการฆาตัวตาย (DS8)
กรณีไมพบความเสี่ยงตอการเกิดปญหาสุขภาพจิต ใหสุขภาพจิตศึกษาเรื่องปฏิกิริยาทางดานจิตใจ
ระยะที่ 4 : ระยะหลังไดรับผลกระทบ (2 สัปดาห – 3 เดือน)
การชวยเหลือจากหนวยงานหรือองคกรตาง ๆ เริ่มนอยลง ผูประสบภัยจะมีความเครียด วิตกกังวล
ทอแท ซึมเศรา ระยะนี้ควรคนหาและคัดกรองภาวะสุขภาพจิตของผูประสบภาวะวิกฤต
กรณีผูใหญ ใชแบบประเมินความเครียด (ST5) และแบบคัดกรองภาวะซึมเศราและความเสี่ยงตอการ
ฆาตัวตาย (DS8) หากพบวาคะแนน DS8 ขอ 1-6 ไดคะแนน 3 คะแนนขึ้นไป ถือวามีความเสี่ยงตอภาวะ
ซึมเศราและขอ 7-8 ตั้งแต 1 คะแนนขึ้นไป ถือวามีความเสี่ยงตอการฆาตัวตายตองมีการติดตามดูแลอยาง
ตอเนื่อง
กรณีเด็กหากพบวาเด็กมีความเสี่ยงตอการเกิดปญหาสุขภาพจิตใหใชแบบประเมิน CRIES-13 เพื่อ
ประเมินอาการ PTSD ในเด็ก และใชแบบคัดกรอง CDI เพื่อประเมินภาวะซึมเศราในเด็ก หรือใชแบบคัดกรอง
CES-D สำหรับประเมินภาวะซึมเศราในวัยรุน นอกจากนี้ยังสามารถใชเครื่องมือคัดกรอง PSC-P และใช SDQ
เพื่อชวยในการวางแผนการใหการชวยเหลือดูแลตอเนื่อง
กรณีพบวาผูประสบภัยไมมีความรุนแรงทางดานสุขภาพจิต ใหการปฐมพยาบาลดานจิตใจ การให
กำลังใจ ใหคำปรึกษาแนะนำ เทคนิคการคลายเครียดดวยตนเอง แหลงสนับสนุนทางสังคมและอาชีพ สนับสนุน
สงเสริมใหชุมชนชวยเหลือตนเองและดูแลกันเอง ใหความรูเรื่องภัยพิบัติผลกระทบทางดานจิตใจ/ปฏิกิริยา ทาง
จิตใจเมื่อประสบภัย การดูแลตนเองและคนใกลชิด ผลลัพธสุดทายที่ตองการ คือ ใหผูคนในชุมชนสามารถ
เปลี่ยนวิกฤต ของชีวิตใหเปนโอกาสสรางความรูสึกแกผูคนในชุมชนใหเกิดพลังจากการเปนเหยื่อของภัย
ธรรมชาติเปนผูสรางและกอบกูชุมชนใหเขมแข็งกวาเดิม
กรณีพบวาผูประสบภัยมีปญหาสุขภาพจิตในระดับรุนแรงมาก ทีม MCATT ไมสามารถ ริหารจัดการ
และใหการชวยเหลือเยียวยาจิตใจผูประสบภัยในพื้นที่ได สามารถขอสนับสนุนทีม MCATT จากหนวยงานที่
เกี่ยวของตามลำดับ หรือสงตอหนวยงานในพื้นที่หรือหนวยบริการสังกัดกรมสุขภาพจิตหรือหนวยบริการใน รพ
ศ./รพท. ที่มีจิตแพทยเพื่อใหการบำบัดรักษาดูแลตอเนื่อง
ระยะที่ 5 : ระยะฟนฟู (หลังเกิดเหตุการณ 3 เดือนขึ้นไป)
ระยะนี้เนนการสงเสริม ปองกัน บำบัด ฟนฟูสุขภาพจิต การเฝาระวังและคนหาโรคระยะเริ่มแรกเพื่อ
ปองกันความพิการทางจิตใจ (Early Detection and Early Intervention)
26