Page 24 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 24

ปฏิกิริยาทางดานความคิด

                    •  ไมมีสมาธิ สับสน                          •  บิดเบือน

                    •  มีปญหาดานความจำ                         •  ตำหนิตนเอง
                    •  ความสามารถในการตัดสินใจไมดี              •  วิตกกังวล

                    •  ไมเชื่อในเหตุการณที่เกิดขึ้น            •  คิดซ้ำซาก จำภาพติดตา **

                    •  ความเชื่อมั่นในตนเองลดลง                  •  รูสึกวาไดยอนกลับไปในเหตุการณเดิม
                        ความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองลดลง           อีกครั้งหนึ่ง **


               ปฏิกิริยาทางดานความสัมพันธระหวางบุคคล

                    •  แยกตัวออกจากผูอื่น                       •  มีปญหาในการทำงาน

                    •  ขัดแยงกับผูอื่นมากขึ้น                  •  หลีกหนีสังคม **
                    •  มีปญหาในการเรียน

                      ** หมายถึงอาการที่เสี่ยงตอการมีปญหาสุขภาพจิต ในระยะเวลาตอไป อาการเหลานี้ถือเปนการ
               ตอบสนองตามปกติตอความเครียดที่เกิดขึ้นในระดับสูงหลังภัยพิบัติ อาการเหลานี้ ไมถือวา เปนความผิดปกติ

               ทางจิต และจะคอยๆ หายไปไดเองเมื่อเวลาผานไป
                      2. ปฏิกิริยาตอบสนองตอความเครียดแบบผิดปกติ ปฏิกิริยาตอบสนองตอความเครียดในภาวะวิกฤต
               สวนใหญมักจะสามารถฟนฟูกลับสูสภาพปกติได อาการสวนใหญจะคอย ๆ หายไปไดเองตามระยะเวลา

               ที่ผานไป แตบางคนอาการจะไมลดลงไปตามกาลเวลา บุคคลเหลานี้จึงอาจเปนกลุมเสี่ยงที่จะมีความผิดปกติ
               ทางจิตไดตอไป เชน มีอาการผิดปกติของความเครียดอยางฉับพลัน หรือมีอาการผิดปกติของความเครียด
               ภายหลังภัยพิบัติ

                      อาการที่บงชี้วาบุคคลนั้นอาจจะตองการความชวยเหลือจากจิตแพทยหรือบุคลากรสุขภาพจิต
                   •  มีอาการสับสนหรือแยกสวนอยางรุนแรง เชน รูสึกราวกับวาโลก นี้ไมอยูจริง

                   •  ยอนกลับไปสู ประสบการณเดิมโดยควบคุมตัวเองไมไดอยางรุนแรง เชน รูสึกเหมือนกลับไปอยูใน
                      เหตุการณเดิมอีกครั้ง จำภาพที่โหดรายไดติดตา ฝนราย ย้ำคิดเรื่องเดิมๆ อยางหยุดไมได

                   •  หลีกหนีสังคมอยางรุนแรง เชน มีอาการเหมือนกลัวที่กวาง ไมกลาเขาสังคม ไมยอมไปทำงาน
                      จงใจหลีกหนี

                   •  ระบบประสาทถูกกระตุนใหตื่นตัวอยางรุนแรง เชน มีอาการตื่นกลัวจนเกินเหตุ ฝนรายที่นากลัว

                      ควบคุมความกาวราวอยางหุนหันพลันแลนไมได ควบคุมตนเองใหมีสมาธิไมได เปนตน
                   •  วิตกกังวลมากจนทำอะไรไมได เชน ครุนคิดวิตกกังวล หวาดกลัว อยางรุนแรง มีความคิดฝงใจ
                      ประสาทมึนชา กลัววาจะควบคุมตัวเองไมได กลัววาตัวเองจะเปนบา

                   •  ซึมเศราอยางรุนแรง เชน หมดความรูสึกสนุกสนานในการดำเนินชีวิต รูสึกวาตนเองไรคา ตำหนิตนเอง

                      ตองพึ่งพาผูอื่น ตื่นแตเชาผิดปกติ เปนตน
                   •  มีปญหาในการใชสารเสพติด เชน ติดสารเสพติด ใชยารักษา ตนเองและดื่มแอลกอฮอลล

                   •  มีอาการทางจิต เชน หลงผิด ประสาทหลอน มีความคิดหรือสราง จินตนาการที่ผิดไปจากความจริง


               24
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29